Page 8 - หนังสือโครงการส่งเสริมการอ่าน
P. 8
กลยุทธ์ที่ ๑
ส่งเสริมและพัฒนาทักษะภาษาไทยเพื่อการสร้างนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้
1) นักเรียนมีทักษะภาษาไทยเหมาะสมกับวัยและสามารถน าความรู้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจ าวัน
และประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต
2) นักเรียนใฝ่รู้ใฝ่เรียนและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด เป้าหมายด าเนินงาน
๑. เด็กปฐมวัย สนทนา โต้ตอบ เล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
2. นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 - ๖ เลือกอ่านหนังสือ/สื่อที่ต้องการ และ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
สื่อสารเรื่องที่อ่านให้ผู้อื่นเข้าใจ โดยการพูด เขียน แสดงความคิดเห็น สรุปความ
และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน
3. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - ๖ เลือกอ่านหนังสือ/สื่อตามความสนใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
และสื่อสารเรื่องที่อ่านให้ผู้อื่นเข้าใจ โดยการพูด เขียน แสดงความคิดเห็น
วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ ประเมินค่า และน าข้อคิดไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหา
ในการด าเนินชีวิต
4. นักเรียนทุกระดับชั้นอ่านหนังสือ/สื่อที่หลากหลายประเภทอย่างสม่ าเสมอ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
และมีนิสัยรักการอ่าน
5. โรงเรียนบริหารแผนงาน/โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านได้บรรลุวัตถุประสงค์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
และเป้าหมายอย่างชัดเจน
6. ครูผู้สอน ครูหรือบุคลากรที่ท าหน้าที่บรรณารักษ์ร่วมกันจัดกิจกรรมส่งเสริม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
การอ่านอย่างต่อเนื่องและเกิดประสิทธิภาพ
7. ครูผู้สอน ครูหรือบุคลากรที่ท าหน้าที่บรรณารักษ์มีการบูรณาการการอ่าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
หน่วยงานที่ด าเนินงาน
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
1) จัดท าแผนงาน/โครงการในการขับเคลื่อนให้สอดคล้องกับนโยบายและบรรลุเป้าหมายอย่างเป็น
รูปธรรม
2) ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมเสริมทักษะภาษาไทยอย่างเข้มแข็งสู่การสร้างนิสัยรักการอ่าน
ของนักเรียน
3) สร้างการมีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ
4) ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงาน ในการมีส่วนร่วมด าเนินการส่งเสริม
นิสัยรักการอ่าน
คู่มือการด าเนินงานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการพัฒนาห้องสมุด ประจ าปีงบประมาณ 2561
3