Page 9 - หนังสือโครงการส่งเสริมการอ่าน
P. 9
โรงเรียน
1) เสริมสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนเกิดการอ่านอย่างต่อเนื่องตามความเหมาะสมกับวัย และอย่างมีคุณภาพ
2) ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนใช้สื่อการอ่านที่หลากหลายทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนอย่าง
สม่ าเสมอ
3) ร่วมมือกันด าเนินการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านให้บรรลุผลส าเร็จตามเป้าหมายของนโยบาย/
แผนงาน/โครงการ
4) สร้างแบบอย่างที่ดีในการอ่านสู่การมีนิสัยรักการอ่านที่ยั่งยืน
กลยุทธ์ที่ ๒
ส่งเสริมและพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต สื่อการอ่าน กิจกรรม วิจัยและนวัตกรรมการอ่าน
1) โรงเรียนมีห้องสมุดมีชีวิตที่มีมาตรฐานไว้บริการให้แก่นักเรียนทุกระดับชั้น
2) โรงเรียนมีสื่อการอ่านและนวัตกรรมการอ่านที่มีคุณภาพ มีปริมาณเพียงพอแก่นักเรียนทุกระดับชั้น
3) โรงเรียนมีห้องสมุดจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้อย่างสม่ าเสมอ
ตัวชี้วัด เป้าหมายด าเนินงาน
1. โรงเรียนจัดห้องสมุดมีชีวิตตามมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนของ สพฐ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
๒. ห้องสมุดโรงเรียนมีสื่อการอ่านและนวัตกรรมการอ่านที่มีคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. ห้องสมุดโรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น ค่ายการอ่าน สัปดาห์ห้องสมุด อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง
วันรักการอ่าน ฯลฯ
4. นักเรียนใช้บริการห้องสมุดในการศึกษาค้นคว้าและการพัฒนาการอ่าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
5. นักเรียนอ่านหนังสือต่อปี (ไม่รวมหนังสือเรียน)
ไม่น้อยกว่า 6 เล่ม
เด็กปฐมวัย
นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ไม่น้อยกว่า ๑๒ เล่ม
นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ไม่น้อยกว่า ๑๔ เล่ม
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ไม่น้อยกว่า ๒๐ เล่ม
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ มากกว่า ๒๐ เล่ม
6. นักเรียนอ่านนอกเวลาเรียน
เด็กปฐมวัย เฉลี่ยวันละ ๑๐ นาที
นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ เฉลี่ยวันละ ๓๐ นาที
นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ เฉลี่ยวันละ ๖๐ นาที
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ เฉลี่ยวันละ ๙๐ นาที
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ เฉลี่ยวันละ ๑๒๐ นาที
คู่มือการด าเนินงานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการพัฒนาห้องสมุด ประจ าปีงบประมาณ 2561
4