Page 11 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 11

15 สัญญาณอัลไซเมอร                                                                                                           กลับบานเกา


                                                                                              จิตรา  จินารัตน                                                                                                  เพียงจันทร  วงศทวีสุข

                               คุณเปนคนขี้ลืมใชไหมคะ ลืมวาวางกระเปาไวที่ไหน ลืมวาตองทําอะไร ทั้ง ๆที่เตือนตัวเองมา                                 “คงไปไหนไมรอดละสิ ถึงไดกลับมา” “บอกแลว หนาแบบนี้ ออกไปไมนาน เดี๋ยวก็
                 ตลอดทั้งวัน ลืมวาทานขาวกับอะไร ทั้งที่ทานไปเมื่อกี้ หรืออะไรที่เคยทําเปนปกติอยูแลว แตอยูๆ ก็ลืมเสีย                 กลับมา” หากพิจารณาประโยคบอกเลาดังกลาวอาจดูธรรมดา แตมันคือประโยคที่สะเทือนใจสําหรับ
                 เฉยๆ บางทีนี่อาจจะไมใชอาการขี้ลืมธรรมดานะคะ มันอาจเปนสัญญาณเตือนของโรคที่รายแรงก็ได                                   บุคคลที่เจอประโยคนี้ไมนอย หลายทานอาจมีประสบการณกับตัวเองหรือพบเจอจากคนรอบขาง ในกรณี
                                                                                                                                            ที่ลาออกจากงานเดิม แลวกลับมาทํางานใหมอีกครั้งในสถานประกอบการเดิม พบเจอหัวหนา เพื่อน
                               เพื่อใหปรับตัวรับโรคนี้ไดทัน ลองมาสํารวจตัวเองดูวาคุณอาจจะกําลังเขาขายการเปน
                 อัลไซเมอรหรือไม                                                                                                          รวมงาน บรรยากาศเดิม ๆ  จะปรับตัวอยางไร ใหกลับมาทํางานไดอยางมีความสุข

                               1. หงุดหงิด อารมณเสียงายกวาปกติ                                                                                         คงไมใชเรื่องแปลกที่สถานประกอบการจะรับพนักงานเกา เขาทํางานอีกครั้ง ถาคุณจาก
                               2. การตัดสินใจแยลง เปลี่ยนใจงาย                                                                            ไปดวยดี ทั้งนายจางและเพื่อนรวมงานยังมีความรูสึกที่ดีตอคุณอยู อยากใหคุณไดลองปรับมุมมองความคิด
                               3. งานหรือกิจกรรมที่เคยทําอยูประจํา จะกลายเปนงานที่ทําไดยากขึ้น                                           หากคุณตองการกลับไปทํางานที่เกา ควรเปนเพราะคุณมั่นใจวาคุณมีคุณคาสําหรับที่เกา ไมใชเพราะวาคุณ

                               4. วางของผิดที่ผิดทาง                                                                                        ไมมีที่ไป แตคงเปนโอกาส จังหวะที่เหมาะสมประจวบเหมาะพอดี ในการเริ่มงานใหมในสถานที่เดิม หลาย
                               5. สับสนเรื่องเวลา มักคิดวาเวลาผานไปนานกวาปกติ                                                            คนอาจมีความรูสึกกังวล ในเรื่องการปรับตัวจะทําอยางไร เรามีเคล็ด (ไม) ลับมาแนะนํา เริ่มตน จาก
                               6. สื่อสารกับคนอื่นยากขึ้น โดยเฉพาะการพูดมักจะเรียงคําผิด พูดผิด                                             การเตรียมคําอธิบาย นายจางเกาตองอยากรูเหตุผลที่คุณลาออกและ กลับมาอีกครั้งอยางแนนอน เตรียม
                               7. เดินออกไปขางนอกอยางไมมีจุดหมาย ไมรูวาจะไปไหน                                                        คําอธิบายไวใหดี เชน

                               8. ทํากิจกรรมบางอยางซ้ํา ๆ                                                                                                - คุณออกไปเพราะอยากคนหาประสบการณใหม แตตอนนี้คุณรูแลววาที่นี่ใหสิ่งที่คุณ
                               9. ไมคอยดูแลตัวเอง                                                                                         ตองการในอาชีพอยางแทจริง และที่นี่คือที่ ๆ ดีที่สุดที่คุณจะไดแสดงความสามารถอยางเต็มศักยภาพ
                               10. แสดงพฤติกรรมไมเหมาะสม
                               11. รูสึกหวาดระแวงอยูตลอดเวลา                                                                                            - คุณเปนคนมีฝมือ สรางชื่อเสียงใหกับบริษัท อีกทั้งยังคุนเคยกับระบบงานของที่นี่เปน

                               12. นอนหลับยาก                                                                                               อยางดี เขาใจวัฒนธรรมองคกร ขอบขายงาน ตลอดจนมีทักษะและความสามารถในการทํางาน นี้มากอน
                               13. ถอยหางออกจากครอบครัว เพื่อน กิจกรรมเดิม ๆ ที่เคยทํา                                                     เมื่อเทียบกับการจางพนักงานใหมที่ตองใชเวลาในการสอนงานและเรียนรูงาน เปนตน
                               14. ชอบทํากิจกรรมเหมือนเด็ก ๆ                                                                                              เคล็ด (ไม) ลับ อีกประการหนึ่งก็คือ การพิสูจนตนเอง เมื่อคุณไดกลับเขาทํางานอีกครั้ง
                               15. พูดจาและแสดงอาการกาวราว                                                                                คุณอาจพบวาทุกอยางไมเหมือนเดิมรอยเปอรเซ็นต อาจมีคนที่มองคุณไมดี ซุบซิบนินทาบางก็ไมตองสนใจ

                               นี่เปนเพียงวิธีสังเกตอาการเบื้องตน ที่คุณสามารถสํารวจไดดวยตัวคุณเอง ถาพบวามีอาการ                      ทํางานใหเต็มที่เพื่อพิสูจนตนเองวาคุณคูควรกับงานนี้ ตอใหใครเขามาใหมก็ไมสามารถทํางานนี้ไดดีเทาคุณ

                 มากกวา 5 ขอ อาจเขาขายโรคอัลไซเมอร ทางที่ดีคือลองไปพบแพทยเพื่อตรวจอาการเพิ่มเติมจะดีที่สุด เพราะ                      แลวเสียงนกเสียงกาและสายตาดูแคลนเหลานั้นก็จะหายไปเอง
                 โรคนี้ไมมีทางรักษา เราสามารถปองกันหรือชะลอใหมันเกิดชาลงได                                                                           นอกจากนี้ยังมีคาถาหากคุณทองแลวคาถาบทนี้จะเปนภูมิคุมกันใหกับจิตใจ คือ คาถา 3
                                                                                                                                            คํา จํางายๆ ของกรมสุขภาพจิต คือ "อึด ฮึด สู" โดย อึด  หมายถึง ศักยภาพที่ทนตอแรงกดดันไดดี ฮึด

                                                                                                                                            หมายถึงมีกําลังใจเขมแข็ง และ สู หมายถึง การตอสูเอาชนะอุปสรรคตางๆที่เกิดขึ้น กรมสุขภาพจิตขอเปน
                                                                                                                                            สวนหนึ่งในการสรางภูมิคุมกันใหประชาชน มีปญหาสุขภาพจิต โทรสายดวนสุขภาพจิต 1323 ยินดี
                                                                                                                                            ใหบริการคะ



                                                                                                                                            แหลงขอมูล http://www.bus.rmutt.ac.th/journal/pdf/vol7-no2-04.pdf

                                                                                                                                                       http://pantip.com/topic/32278183
                                                                                                                                                        http://www.dmhweb.dmh.go.th/jvsk/inter/link/Html/kown2.html





               4       บทความความรู้สุขภาพจิต

                       จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16