Page 15 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 15

ความสุขสรางได เมื่อสูงวัย                                                                                                   ฉันไมไดบานะ!


                                                                                                                                                                                                                          สันติ  แซลี้


                               “ผูสูงอายุ” หรืออาจเรียกวา คนแก คนชรา หรือผูสูงวัย เปนบุคคลที่ตองพึ่งพา มีปญหาจาก                                คนเราทุกคนนั้น มีโอกาสที่จะเจ็บปวยไดเสมอ บางคนอาจจะเจ็บปวยทางกาย ทางจิต หรือ
                                                                                                                                        ทั้งสองทางก็ได ขึ้นอยูกับบุคคลแตละบุคคล รวมทั้งสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวบุคคลนั้นดวย สําหรับคนที่เจ็บปวย
                 การเสื่อมถอยของรางกาย ซึ่งเปนไปตามธรรมชาติ ตามวัยที่เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งการมีโรคเรื้อรังตางๆ นํามาซึ่ง              ทางกาย ทุกคนมักจะเรียกเขาวา "ผูปวย" หรือ "คนปวย" หรือ "ปวย" แตในทางตรงกันขาม คนที่เจ็บปวยทาง

                 ความเจ็บปวดดานรางกายและดานจิตใจ เพราะเปนวัยแหงงการพลัดพรากสูญเสีย ดังนั้นอาจพูดไดวา วัยนี้                      จิต หรือมีความผิดปกติทางจิต ทุกคนกลับมักจะเรียกเขาวา "คนบา" หรือ "ไอบา"  หรือ "บา" แทนที่จะเรียก
                 เปนวัยที่ตองการดูแลเฉพาะแตกตางจากวัยอื่นๆ นอกเหนือจากการดูแลทางกายแลว การดูแลทางใจก็เปน                           เขาเหลานั้นวา "ผูปวย" เพราะจริงๆ แลวคนที่เจ็บปวยทางจิต หรือ "ผูปวยทางจิต" ก็คือ ผูที่มีความผิดปกติทาง

                 สิ่งสําคัญที่ญาติหรือคนใกลชิดตองเอาใจใส เพราะสุดทายแลว... เปาหมายของวัยสูงอายุ คือ การมีสุขภาพดี                 จิต ไดแก อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม ทางอารมณ ทางความคิด ทางความจํา ทาง
                 มีความสุขกับลูกหลาน มีเพื่อนฝูง มีสังคม ความสุขทั้งหลายขึ้นอยูกับตัวของผูสูงอายุเองวาจะเลือกสุขแบบไหน               สติปญญา ทางประสาทการรับรู หรือการรูเวลา สถานที่ หรือบุคคล รวมทั้ง อาการผิดปกติของจิตใจที่เกิดจาก
                                                                                                                                        สุราหรือสารอื่นที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ซึ่งจําเปนตองไดรับการบําบัดรักษา
                 วางแผนดี ชีวิตมีสุข
                                                                                                                                                       การที่คนเรามักจะเรียกผูปวยทางจิตวา  "คนบา"  หรือ “ไอบา”  นั้น ทําใหหลายๆ คนมี
                               การวางแผนชีวิตในทุกชวงอายุ มีความจําเปนอยางมากที่ทุกคนควรทํา เพราะวาจุดหมาย                          ทัศนคติดานลบตอผูปวย สงผลใหผูปวยดังกลาวไมไดรับการบําบัดรักษาอยางถูกตองและเหมาะสม เปนเหตุให

                 ปลายทางไมมีใครคาดเดาไดวา ชีวิตเราจะเปนแบบไหน รูแตเพียงวาระหวางทางเราสามารถพบเจอกับ                             ความผิดปกติทางจิตทวีความรุนแรงมากขึ้นจนกอใหเกิดอันตรายรายแรงทั้งตอชีวิต ตอรางกาย หรือทรัพยสิน
                 ความสุขไดตลอดไป จนถึงวัยสุดทายของชีวิต ซึ่งจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อมาจากการวางแผนในวัยตนและวัยกลาง                   ของตนเองหรือผูอื่นได ...มาถึงตรงนี้แลว... คงไมมีใครอยากใหเหตุการณดังกลาวเกิดขึ้นกับตนเอง หรือ

                 ที่ดี                                                                                                                  ครอบครัวของตนเองแนนอน คงถึงเวลาแลวที่เราจะเริ่มตนมองผูมีความผิดปกติทางจิต หรือผูปญหาสุขภาพจิต
                                                                                                                                        วาคือ "ผูปวย" ไมใช "คนบา" ย้ํา! คือ "ผูปวย" ไมใช "คนบา"... เพื่อที่สังคมของเราจะไดมีความนาอยูมากขึ้น
                               ความสุขในวัยสูงอายุ จึงควรวางแผนใหครอบคลุมทั้ง 5 มิติ ไดแก สุขสบาย (เนนการดูแลเอา

                 ใจใสสุขภาพรางกายของตนเองใหแข็งแรงอยูเสมอ) สุขสงา (เนนการทํากิจกรรมที่กอใหเกิดความภาคภูมิใจใน

                 ตนเอง เห็นคุณคาของตนเอง) สุขสวาง (เนนการฝกสมองใหสามารถจําลูกจําหลานได ไมหลงลืม) สุขสนุก (เนน

                 การเขารวมกิจกรรม หมั่นหากิจกรรมที่ชื่นชอบและสนใจ) สุขสงบ (สามารถควบคุมอารมณ และยอมรับสิ่ง

                 ตางๆ ที่เกิดขึ้นตามความเปนจริง)

                               แนวทางสรางสุขเบื้องตนเปนเพียงตัวเลือกหนึ่งที่ทานสามารถนําไปปรับใชไดใน

                 ชีวิตประจําวันเชื่อวาหากทานเริ่มตนวางแผนนับตั้งแตวันนี้ ในอนาคตอันใกลทานจะมีหนทางสูการกาวไปสูการ
                 เปนผูสูงอายุ หรือคนแกที่มีความสุขครบทั้ง 5 มิติ ตลอดจนสามารถทําคุณประโยชนเพื่อสังคมและ

                 ประเทศชาติตอไปได























               8       บทความความรู้สุขภาพจิต

                       จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20