Page 13 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 13

ครอบครัว...กับการดูแลผูปวยจิตเวช                                                                                             ความสุข...อยูที่ไหน?


                                                                                                พิมลศรี  จินา


                                การเจ็บปวยดวยโรคทางจิตเวชมีโอกาสเปนโรคเรื้อรังสูง และจําเปนตองไดรับการรักษาอยาง                                “ไดแคนี้ผมก็ขอบคุณมากแลวครับ กราบขอบคุณทุกๆ คนนะครับ” เสียงแหบเครือออกจาก
                 ตอเนื่อง เพื่อควบคุมอาการและปองกันมิใหอาการกําเริบ ครอบครัวจึงมีสวนสําคัญยิ่งตอการทําหนาที่ดูแลให               ปากชายสูงวัย ผมสีดอกเลา นัยนตาเออลนดวยความปลื้มปติ

                 ผูปวยไดมีโอกาสรับการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย เพื่อใหเขาสามารถดําเนินชีวิตอยูกับครอบครัวและ                                    บานสวนอยูหางออกจากชุมชน ราวๆ หากิโลเมตร ทางเขาเปนคันดินที่ขุดจากสองฟากฝง
                 สังคมไดตามอัตภาพ                                                                                                      ขึ้นมาถมเพื่อทําเปนทางสัญจร ฤดูฝนลําบากมาก รถยนตเขาไมถึง...ใชเดินเทาอยางเดียว


                 ครอบครัวควรดูแลผูปวยจิตเวชเรื่องใดบาง                                                                                              ทีมงานจิตอาสามีโอกาสลงพื้นที่และไดเห็นความยากลําบากของลุงแดง ซึ่งมีลูกปวยเปนโรค
                                                                                                                                        จิตเภท ไมมีบานอยูอาศัย มีเพียงผาใบขึงเชือกสี่มุม ทําเปนเพิงหลังคาเพื่อหลบแดดฝนอยูกลางปา รายลอม
                               1. การรับประทานยา ผูดูแลควรใหผูปวยไดรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย ไม
                                                                                                                                        ดวยไรออย และปามันสําปะหลัง
                 ควรเพิ่มหรือลดยา หรือกินยาเฉพายาบางชนิด รับประทานยาใหสม่ําเสมอหากมีอาการเปลี่ยนแปลง ควรพา
                 ผูปวยไปพบแพทย                                                                                                                     เราชาวจิตอาสารวบรวมปจจัยไดจํานวนหนึ่ง และนําไปซื้อวัสดุอุปกรณที่พอหาไดและรวมกัน

                               2. กิจวัตรประจําวัน ผูปวยทางจิตมักไมคอยสนใจตัวเอง ดังนั้นญาติควรกระตุนใหผูปวยได                 เพื่อลงมือทําบานใหลุงแดง ปจจัยที่ไดรวบรวมมาซื้อไดเพียงเหล็กและสังกะสี โชคดีที่ลุงแดงแกมีเสาเกาๆ อยู
                 ทํากิจวัตรประจําวันดวยตนเอง พยายามใหผูปวยไดชวยเหลือตนเองใหมากที่สุด                                             แลว ทีมจึงปรึกษาหารือกัน และตัดสินใจ “ทําเทาที่ทําได”

                               3. การทํางาน ผูดูแลควรกระตุนใหผูปวยไดมีสวนรวมในการทํางาน เชน งานบาน หรืองาน                                  ลงมือขุดหลุมตั้งเสา ขึ้นโครงหลังคา แลวก็มุง ใชเวลาทั้งหมด 3 วัน บานลุงแดงก็เริ่มเห็นเปน

                 อาชีพ เพื่อใหผูปวยรูสึกภาคภูมิใจ มีความรับผิดชอบ และไมคิดฟุงซาน                                                 รูปราง ที่มีเพียงหลังคา ไมมีฝาขาง...แตงบประมาณหมดลงแลว
                               4. การมีสวนรวมกับกิจกรรมทางสังคม ผูดูแลควรเปดโอกาสใหผูปวยไดรวมกิจกรรมใน                                       ในวันสุดทายกอนร่ําลา “ไดแคหลังคานะลุง” ลุงแดงยกสองมือพนมทั่วหัว น้ําตาคลอเบา

                 ชุมชน เชน งานเทศกาลตางๆ รวมกิจกรรมทางศาสนา เปนจิตอาสา เปนตน เพื่อใหสังคมเกิดการยอมรับและ                        กลาวดวยเสียงแหบเครือ “ไดแคนี้ลุงก็ขอบคุณมากแลว”...
                 ลดอคติตอผูปวยจิตเวช


                               ผูปวยทางจิตจะสามารถอยูกับครอบครัวไดนานเทาใดโดยไมมีอาการกําเริบนั้น ขึ้นอยูกับการ
                 ดูแลเอาใจใสจากญาติ หรือผูดูแลดวยเชนกัน นอกจากนี้การยอมรับ ไมลอเลียน ไมซ้ํากันมีความเมตตาตอ

                 ผูปวยจิตเวชก็จะชวยใหพวกเขาเหลานี้ สามารถอยูรวมกับครอบครัวแลสังคมไดอยางมีศักดิ์ศรี และมีความ
                 สบายใจมากขึ้น



























               6       บทความความรู้สุขภาพจิต

                       จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18