Page 12 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 12

12



                                 2.  ทาครีมบํารุงผิวที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับผิวของตนเอง  ซึ่งตามปกติวัยรุนจะมีผิวพรรณ
                   เปลงปลั่งตามธรรมชาติอยูแลว  ไมจําเปนที่จะตองใชครีมบํารุงผิว  ยกเวนในชวงอากาศหนาว  ซึ่งจะทําใหผิวแหง

                   แตก
                                 3.  ทาครีมกันแดดกอนออกจากบานเมื่อตองไปเผชิญกับแดดรอนจัด  เพื่อปองกันอันตรายจาก

                   แสงแดดที่มีรังสีซึ่งเปนอันตรายตอผิวหนัง
                                 4.  สวมเสื้อผาที่สะอาดพอดีตัวไมคับหรือหลวมเกินไป  และเหมาะสมกับภูมิอากาศตาม
                   ฤดูกาล
                                 5.  รับประทานอาหารใหครบทุกหมู  และเพียงพอตอความตองการโดยเฉพาะผักและผลไม

                                 6.  ดื่มน้ําสะอาดอยางนอยวันละ 6-8 แกว  น้ําจะชวยใหผิวพรรณสดชื่นแจมใส
                                 7.  ออกกําลังกายเปนประจําเพื่อใหรางกายแข็งแรง

                                 8.  นอนหลับ  พักผอนใหเพียงพออยางนอยวันละ 8 ชั่วโมง
                                 9.  ดูแลผิวหนังอยาใหเปนแผล  ถามีควรรีบรักษาเพื่อไมไดเกิดแผลเรื้อรัง  เพราะแผลเปน
                   ทางผานของเชื้อโรคเขาสูรางกาย



                   2.  ระบบกลามเนื้อ


                                 กลามเนื้อเปนแหลงพลังงานที่ทําใหเกิดการเคลื่อนไหว  ในสวนตาง ๆ ของรางกายมีกลามเนื้อ
                   อยูในรางกาย 656 มัด  เราสามารถสรางเสริมกลามเนื้อใหใหญโต แข็งแรงได  ดังเชน  นักเพาะกายที่มีกลามเนื้อ
                   ใหญโตใหเห็นเปนมัด ๆ หรือนักกีฬาที่มีกลามเนื้อแข็งแรงสามารถปฏิบัติงานอยางหนักหนวงไดอยางมี

                   ประสิทธิภาพ  อดทนตอความเมื่อยลา  กลามเนื้อประกอบดวยน้ํา 75% โปรตีน 20% คารโบไฮเดรต  ไขมัน  เกลือ
                   แร  และอื่น ๆ อีก 5%


                   ความสําคัญของระบบกลามเนื้อ
                                 1.  ชวยใหรางกายสามารถเคลื่อนไหวไดจากการทํางาน  ซึ่งในการเคลื่อนไหวของรางกายนี้

                   ตองอาศัยการทํางานของระบบโครงกระดูกและขอตอตาง ๆ ดวย  โดยอาศัยการยืด  และหดตัวของกลามเนื้อ
                                 2.  ชวยใหอวัยวะภายในตาง ๆ เชน  หัวใจ  ปอด  กระเพาะอาหาร  สําไสเล็ก  สําไสใหญ
                   หลอดเลือด  ทํางานไดตามปกติและมีประสิทธิภาพ  เนื่องจากการบีบรัดตัวของกลามเนื้อของอวัยวะดังกลาว

                                 3.  ผลิตความรอนใหความอบอุนแกรางกาย  ซึ่งความรอนนี้เกิดจากการหดตัวของกลามเนื้อ
                   แลวเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
                                 4.  ชวยปองกันการกระทบกระเทือนจากอวัยวะภายใน

                                 5.  เปนที่เกิดพลังงานของรางกาย
                   ชนิดของกลามเนื้อ
                                 กลามเนื้อแบงตามลักษณะรูปรางและการทํางานได 3 ชนิด  คือ

                                 1.  กลามเนื้อลาย  (Striated Muscle or Crosstripe Muscle)  เปนกลามเนื้อที่ประกอบเปนโครงราง
                   ของรางกาย (Skeletal Muscle)  เปนกลามเนื้อที่ประกอบเปนลําตัว  หนา  แขน  ขา  เปนตน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17