Page 13 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 13

13



                                 โครงสรางและรูปรางลักษณะไฟเบอร  (Fiber)  หรือเซลลของเนื้อเยื่อกลามเนื้อลาย  มีรูปราง
                   ยาวรีเปนรูปกระสวย  ไฟเบอรมีขนาดยาว 1-40 มิลลิเมตร  มีพื้นหนาตัดกวาง 0.01-0.05  มิลลิเมตร  ไฟเบอรแตละ

                   อันเมื่อสองดูดวยกลองจุลทรรศนจะพบลายตามขวางเปนสีแกและออนสลับกัน







                                 2.  กลามเนื้อเรียบ  (Smooth Muscle) กลามเนื้อเรียบประกอบเปนอวัยวะภายในรางกาย  เรียกวา

                   กลามเนื้ออวัยวะภายใน  ไดแก  ลําไส  กระเพาะอาหาร  กระเพาะปสสาวะ  มดลูก  หลอดเลือด  หลอดน้ําเหลือง
                   เปนตน
                                 กลามเนื้อเรียบสนองตอบสิ่งเรานานาชนิดไดดี  เชน  การขยายตัว  การเปลี่ยนแปลงของ

                   อุณหภูมิและกระแสประสาท  ความเย็นจะทําใหกลามเนื้อหดตัวไดดี  สําหรับความรอนนั้นขึ้นอยูกับอัตราการให
                   วาเร็วหรือชา  คือ  ถาหากประคบความรอนทันทีทันใด  ความรอนจะกระตุนใหกลามเนื้อหดตัว  แตใหความรอน
                   ทีละนอยกลามเนื้อจะคลายตัว  กลามเนื้อเรียบมีความไวตอการเปลี่ยนแปลงของสวนประกอบของเลือดหรือน้ําใน

                   เนื้อเยื่อ  ฮอรโมน  วิตามิน  ยา  เกลือ  กรด  ดาง
                                 3.  กลามเนื้อหัวใจ  (Cardiac Muscle)  กลามเนื้อหัวใจจะพบที่หัวใจและผนังเสนเลือดดําใหญที่
                   นําเลือดเขาสูหัวใจเทานั้น  เซลลกลามเนื้อหัวใจมีลักษณะโดยทั่วไปคลายคลึงกับเซลลกลามเนื้อลาย  คือ  มีการ

                   เรียงตัวใหเห็นเปนลายเมื่อดูดวยกลองจุลทรรศน  กลามเนื้อหัวใจมีลักษณะแตกกิ่งกานและสานกัน  มีรอยตอและ
                   ชอง  (Gap Junction)  ระหวางเซลล  ซึ่งเปนบริเวณที่มีความตานทานไฟฟาต่ํา  ทําใหเซลลกลามเนื้อหัวใจสามารถ

                   สงกระแสไฟฟาผานจากเซลลหนึ่งไปยังอีกเซลลหนึ่งได






                   การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบกลามเนื้อ
                                 การทํางานของกลามเนื้อที่มีประสิทธิภาพตองทํางานประสานสัมพันธกับกระดูกและขอตอ

                   ตาง ๆ อยางเหมาะสมกลมกลืนกัน  ตลอดจนมีผิวหนังหอหุม  ดังนั้น  อวัยวะตาง ๆ เหลานี้จึงตองไดรับการสราง

                   เสริมบํารุง  คือ
                                 1.  รับประทานอาหารที่มีประโยชน โดยเฉพาะวัยรุนตองการสารอาหารประเภทโปรตีน
                   แคลเซียม  วิตามิน  และเกลือแร  เพื่อเสริมสรางกลามเนื้อและกระดูกใหแข็งแรงสมบูรณ  ควรไดรับอาหารที่ให
                   สารอาหารโปรตีนอยางนอย 1 กรัม  ตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัมตอวัน  และตองรับประทานอาหารใหครบทุกหมูใน

                   ปริมาณที่เพียงพอ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18