Page 175 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 175

175



                   ผลิตภัณฑประเภทยาจะตองผานการตรวจสอบที่มีมาตรฐานสูงและถูกตอง มีผูชํานาญการที่มีคุณวุฒิ
                   ในการดําเนินการดวย

                            ลักษณะของผูที่จะประกอบอาชีพผลิตภัณฑสมุนไพรในการปรุงผลิตภัณฑจาก

                   สมุนไพร  ผูปรุงจําเปนตองรูหลักการปรุงผลิตภัณฑจากสมุนไพร  4  ประการคือ

                            1. เภสัชวัตถุ  ผูปรุงตองรูจักชื่อ  และลักษณะของเภสัชวัตถุทั้ง ๓ จําพวก   คือ   พืชวัตถุ
                   สัตววัตถุ และธาตุวัตถุ รวมทั้งรูป สี กลิ่นและรสของเภสัชวัตถุนั้นๆ ตัวอยางเชน กะเพราเปนไมพุม

                   ขนาดเล็ก มี ๒ ชนิด คือ  กะเพราแดงและกะเพราขาว ใบมีกลิ่นหอม รสเผ็ดรอน หลักของการปรุง

                   ยาขอนี้จําเปนตองเรียนรูจากของจริง

                            2. สรรพคุณเภสัช ผูปรุงตองรูจักสรรพคุณของยา ซึ่งสัมพันธกับรสของสมุนไพรเรียกวา
                   รสประธาน แบงออกเปน

                            2.1   สมุนไพรรสเย็น ไดแก ยาที่ประกอบดวยใบไมที่รสไมเผ็ดรอนเชน เกสร

                   ดอกไม  สัตตเขา (เขาสัตว ๗ ชนิด) เนาวเขี้ยว (เขี้ยวสัตว ๙ ชนิด)และของที่เผาเปนถาน ตัวอยางเชน
                   ยามหานิลยามหากาฬ เปนตน ยากลุมนี้ใชสําหรับรักษาโรคหรืออาการผิดปรกติทางเตโชธาตุ (ธาตุ

                   ไฟ)

                            2.2 สมุนไพรรสรอน  ไดแก ยาที่นําเอาเบญจกูล ตรีกฎก หัสคุณ ขิง และขามาปรุง
                   ตัวอยางเชน  ยาแผนโบราณที่เรียกวายาเหลืองทั้งหลาย  ยากลุมนี้ใชสําหรับรักษาโรคและอาการ

                   ผิดปรกติทางวาโยธาตุ (ธาตุลม)

                            2.3 สมุนไพรรสสุขุม             ไดแก ยาที่ผสมดวย โกฐ เทียน กฤษณา

                   กระลําพัก  ชะลูด  อบเชย  ขอนดอก และแกนจันทนเทศ เปนตน ตัวอยางเชน ยาหอมทั้งหลายยาก
                   ลุมนี้ใชรักษาความผิดปรกติทางโลหิต

                            นอกจากรสประธานของสมุนไพรดังที่กลาวนี้เภสัชวัตถุยังมีรสตางๆ อีก 9 รสคือ รสฝาด

                   รสหวาน รสเบื่อเมา รสขม รสมัน รสหอมเย็นรสเค็ม รสเปรี้ยว และรสเผ็ดรอน  ในตําราสมุนไพร
                   แผนโบราณบางตําราไดเพิ่มรสจืดอีกรสหนึ่งดวย

                           3. คณาเภสัช ผูปรุงสมุนไพรตองรูจักเครื่องสมุนไพรที่ประกอบดวยเภสัชวัตถุมากกวา  1

                   ชนิด  ที่นํามารวมกันแลวเรียกเปนชื่อเดียว ตัวอยางเชน

                                 ทเวคันธา  หมายถึงเครื่องสมุนไพรที่ประกอบดวยเภสัชวัตถุ 2  ชนิด คือ รากบุนนาค
                   และ รากมะทราง

                                 ตรีสุคนธ หมายถึงเครื่องสมุนไพรที่ประกอบดวยเภสัชวัตถุ 3 ชนิด คือ รากอบเชย

                   เทศ รากอบเชยไทย และรากพิมเสนตน
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180