Page 176 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 176

176



                            4. เภสัชกรรม ผูปรุงสมุนไพรตองรูจักการปรุงยาซึ่งมีสิ่งที่ควรปฏิบัติคือ

                            4.1 พิจารณาตัวสมุนไพรวาใชสวนไหนของเภสัชวัตถุ เชน ถาเปนพืชวัตถุ จะใชสวน
                   เปลือกรากหรือดอก ใชสดหรือแหง ตองแปรสภาพกอนหรือไม  ตัวอยางสมุนไพรที่ตองแปรสภาพ

                   กอนไดแก เมล็ดสลอด เพราะสมุนไพรนี้มีฤทธิ์แรงจึงตองแปรสภาพเพื่อลดฤทธิ์เสียกอน

                            4.2 ดูขนาดของตัวสมุนไพรยา วาใชอยางละเทาไร  และผูปรุงสมุนไพรควรมีความรูใน
                   มาตราโบราณ ซึ่งใชสวนตางๆ ของรางกาย   หรือเมล็ดพืชที่เปนที่รูจักคุนเคยมาเปนตัวเทียบ

                   ขนาด   เชน คําวาองคุลี  หมายถึงขนาดเทา 1 ขอของนิ้วกลาง กลอมหมายถึงขนาดเทากับเมล็ด

                   มะกล่ําตาหนู และกล่ําหมายถึงขนาดเทากับเมล็ดมะกล่ําตาชาง เปนตน

                            การขออนุญาตผลิตภัณฑอาหารและยา (ขอเครื่องหมาย อย.)
                            “อาหาร” ในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522  หมายถึง “วัตถุทุกชนิดที่คนกิน  ดื่ม หรือ

                   นําเขาสูรางกาย  แตไมรวมถึงยา  วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาท  หรือยาเสพติดใหโทษ  นอกจากนี้

                   อาหารยังรวมถึงวัตถุที่ใชเปนสวนผสมในการผลิตอาหาร  วัตถุเจือปนอาหาร  สี  เครื่องปรุงแตง
                   กลิ่นรสดวย”

                            ผลิตภัณฑที่ผลิตเพื่อจําหนายมีจํานวนหนึ่งที่เปนผลิตภัณฑที่คาบเกี่ยวหรือก้ํากึ่งวาจะเปน

                   ยาหรืออาหาร  เพื่อปองกันความสับสนในเรื่องนี้  สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงกําหนด
                   แนวทางในการพิจารณาวา ผลิตภัณฑใดที่จัดเปนอาหาร  ตองมีลักษณะดังนี้

                            1. มีสวนประกอบเปนวัตถุที่มีในตําราที่รัฐมนตรีประกาศตามพระราชบัญญัติยาและโดย

                   สภาพของวัตถุนั้นเปนไดทั้งยาและอาหาร

                            2. มีขอบงใชเปนอาหาร
                            3. ปริมาณการใชไมถึงขนาดที่ใชในการปองกันหรือบําบัดรักษาโรค

                            4. การแสดงขอความในฉลากและการโฆษณาอาหารที่ผสมสมุนไพรซึ่งไมจัดเปนยานั้น

                   ตองไมมีการแสดงสรรพคุณเปนยากลาวคือปองกัน บรรเทา บําบัด  หรือรักษาโรคตาง ๆ

                            การแบงกลุมผลิตภัณฑอาหาร

                            อาหารแบงตามลักษณะการขออนุญาตผลิต  ออกเปน 2 กลุมคือ
                            1. กลุมอาหารที่ไมตองมีเครื่องหมาย อย.

                            อาหารกลุมนี้ สวนใหญเปนอาหารที่ไมแปรรูปหรือถาแปรรูปก็จะใชกระบวนการผลิต

                   งาย ๆ ในชุมชน  ผูบริโภคจะตองนํามาปรุงหรือผานความรอนกอนบริโภค  อาหารกลุมนี้ผูผลิตที่มี
                   สถานที่ผลิตไมเขาขายโรงงาน (ใชอุปกรณหรือเครื่องจักรต่ํากวา 5  แรงมา หรือคนงานนอยกวา 7

                   คน)   สามารถผลิตจําหนายไดโดยไมตองมาขออนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

                   หรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด  แตตองแสดงฉลากอาหารที่ถูกตองไวดวย
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181