Page 174 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 174
174
1.การตม เปนการสกัดตัวยาออกมาจากไมยาดวยน้ํารอน เปนวิธีที่นิยมใชมากที่สุด ใชกับ
สวนของเนื้อไมที่แนนและแข็ง เชน ลําตนและราก ซึ่งจะตองใชการตมจึงจะไดตัวยาที่เปน
สารสําคัญออกมา ขอดีของการตม คือ สะอาด ปลอดจากเชื้อโรค มี 3ลักษณะ
การตมกินตางน้ํา คือการตมใหเดือดกอนแลวตมดวยไฟออนๆอีก 10 นาที หลังจากนั้น
นํามากินแทนน้ํา
การตมเคี่ยวคือ การตมใหเดือดออนๆ ใชเวลาตม 20-30 นาที
การตม 3 เอา1 คือ การตมจากน้ํา 3 สวน ใหเหลือเพียง 1 สวน ใชเวลาตม 30-45นาที
2.การชง เปนการสกัดตัวยาสมุนไพรดวยน้ํารอน ใชกับสวนที่บอบบาง เชน ใบ ดอก ที่
ไมตองการโดนน้ําเดือดนานๆตัวยาก็ออกมาได วิธีการชง คือ ใหนํายาใสแกวเติมน้ํารอนจัดลงไป
ปดฝาแกวทิ้งไวจนเย็น ลักษณะนี้เปนการปลอยตัวยาออกมาเต็มที่
3. การใชน้ํามัน ตัวยาบางชนิดไมยอยละลายน้ํา แมวาจะตมเคี่ยวแลวก็ตาม สวนใหญยาที่
ละลายน้ําจะไมละลายในน้ํามันเชนกัน จึงใชน้ํามันสกัดยาแทน แตเนื่องจากยาน้ํามันทาแลวเหนียว
เหนอะหนะ เปอนเสื้อผา จึงไมนิยมปรุงใชกัน
4.การดองเหลา เปนการใชกับตัวยาของสมุนไพรที่ไมละลายน้ํา แตละลายไดดีในเหลา
หรือแอลกอฮอล การดองเหลามักมีกลิ่นแรงกวายาตม เนื่องจากเหลามีกลิ่นฉุน และหากกินบอยๆ
อาจทําใหติดได จึงไมนิยมกินกัน จะใชตอเมื่อกินยาเม็ดหรือยาตมแลวไมไดผล
5.การตมคั้นเอาน้ํา เปนการนําเอาสวนของตนไมที่มีน้ํามากๆออนนุม ตําแหลกงาย เชน
ใบ หัว หรือเหงา นํามาตําใหละเอียด และคั้นเอาแตน้ําออกมา สมุนไพรที่ใชวิธีการนี้กินมากไมได
เชนกัน เพราะน้ํายาที่ไดจะมีกลิ่นและรสชาติที่รุนแรง ตัวยาเขมขนมาก ยากที่จะกลืนเขาไปที่เดียว
ฉะนั้นกินครั้งละหนึ่งถวยชาก็พอแลว
6.การบดเปนผง เปนการนําสมุนไพรไปอบหรือตากแหงแลวบดใหเปนผง สมุนไพรที่
เปนผงละเอียดมากยิ่งมีสรรพคุณดี เพราะจะถูกดูดซึมสูลําไสงาย จึงเขาสูรางกายได
รวดเร็ว สมุนไพรผงชนิดใดที่กินยากก็จะใชปนเปนเม็ดที่เรียกวา "ยาลูกกลอน" โดยใชน้ําเชื่อม,
น้ําขาวหรือน้ําผึ้ง เพื่อใหติดกันเปนเม็ด สวนใหญนิยมใชน้ําผึ้งเพราะสามารถเก็บไวไดนานโดยไม
ขึ้นรา
7.การฝน เปนวิธีการที่หมอพื้นบานนิยมกันมาก วิธีการฝน คือ หาภาชนะใสน้ําสะอาด
ประมาณครึ่งหนึ่งแลวนําหินลับมีดเล็กๆจุมลงไปในหินโผลเหนือน้ําเล็กนอย นําสมุนไพรมาฝนจน
ไดน้ําสีขุนเล็กนอยกินครั้งละ 1 แกว
อยางไรก็ตามการแปรรูปผลิตภัณฑสมุนไพร ควรแปรรูปในลักษณะอาหารหรือเครื่องใชที่
ไมจัดอยูในประเภทยารักษา คือไมมีสรรพคุณในการรักษาหรือปองกัน บรรเทา บําบัดโรค เนื่องจาก