Page 39 - วชาปรบอากาศรถยนตรโปรเเกรม
P. 39
32
3.2 แบบสนำมแม่เหล็กเคลื่อนที่ (Rotation Field Clutch)
คลัตช์แม่เหล็กแบบนี้ตัวขดลวดจะเป็นส่วนประกอบเดียวกับรอก (Pulley) ซึ่ง
ขดลวดจะหมุนไปพร้อมกับรอก (Pulley) ที่หมุนฟรีไปกับเครื่องยนต์เมื่อกระแสไฟฟ้าถูก
ป้อนเข้าไปเลี้ยงรอกหมุนขดลวดสนามแม่เหล็ก โดยผ่านทางแปรงถ่านก็จะเกิดการ
เหนี่ยวน าและดูดเอาแผ่นกดเข้ามา ติดกับรอก (Pulley) และท าให้คอมเพรสเซอร์เริ่ม
เพลาไม่หมุน ท างาน และเช่นเดียวกันเมื่อเทอร์มอสแตตหรือ สวิตซ์ถูกตัดท าให้ไม่มี
กระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงขดลวด อ านาจสนามแม่เหล็กหมดลงท าให้แผ่นกดแยกออกจาก
หน้าสัมผัสของรอก (Pulley) เป็นผลให้คอมเพรสเซอร์หยุดท างานรอก (Pulley) จะ
แผ่นกดแยกออก หมุนฟรีไปกับเครื่องยนต์รอกหมุน
สรุปได้ว่าคลัตช์แม่เหล็กทั้งสองแบบ อาศัยหลักการท างานจากการเหนี่ยวน าของ
สนามแม่เหล็กเช่นเดียวกันโดยทั่วไปแล้วเพลาหมุนขดลวดสนามแม่เหล็กจะมีแบบที่ใช้
กับแบตเตอรี่ 12 โวลต์ และ 24 โวลต์ ดังนั้นจะต้องเลือก ขดลวดให้ถูกต้อง มิฉะนั้นจะ
เกิดปัญหาขึ้น เช่น ถ้าเอาขดลวดขนาด 24 โวลต์ไปใช้กับขนาด 12 โวลต์ แผ่นกดจับอยู่
จะท าให้เกิดความเข้มสนามแม่เหล็กน้อยจะท าให้หน้าสัมผัสของ 4 แผ่นกดลื่นในทางตรง
ข้าม แบบสนามแม่เหล็กเคลื่อนที่ 24 โวลต์ จะท าให้เกิดการขอร์ตวงจรของขดลวด
เพราะขดลวดไม่สามารถทนต่อแรงดันไฟฟ้าที่สูงกว่าได้
4. วิธีกำรตรวจสอบเทอร์มอสแตต สำมำรถกระท ำได้ดังนี้
1. หน้าสัมผัสของเทอร์มอสแตตควรแยกออกจากกันเมื่ออุณหภูมิที่อีวาปอเรเตอร์
ประมาณ 26 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ – 3 องศาเซลเซียส
2. หน้าสัมผัสของเทอร์มอสแตตจะเกาะกันอีกครั้ง เมื่ออุณหภูมิอีวาปอเรเตอร์
สูงขึ้นถึง 38 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 3 องศาเซลเซียส
3. ค่าความดันด้านต ่าที่แมนนิโฟลด์เกจ ควรอยู่ที่ประมาณ 26 – 32 ปอนด์ ต่อ
ตารางนิ้วซึ่งเป็นอุณหภูมิตัดและต่อของเทอร์มอสแตต