Page 23 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 23

18




                                2.) ดัชนีวัดความอยูดีกินดีของประชาชนแสดงถึงระดับความเปนอยูของ

                  ประชาชน   เชน อัตราการอานออกเขียนได   อายุเฉลี่ยของประชากร   อัตราการตายของ
                  ทารก   อัตราสวนของแพทยตอจํานวนประชากร   เปนตนทั้งนี้ดัชนีชี้วัดการเจริญเติบโตทาง


                  เศรษฐกิจ   เปนดัชนีพื้นฐานเบื้องตนที่จะสะทอนภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ
                  ประเทศ  ดังนี้

                                            (1) ผลิตภัณฑมวลรวภายในประเทศ (Gross Domestic Product :

                  GDP )เปนตัวชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่นิยมใชมากที่สุด  เพราะแสดงถึง

                  ความสามารถในการผลิตและการบริโภคของประเทศ  โดยผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ

                  เปนมูลคาของสินคาและบริการขั้นสุดทาย  ซึ่งผลิตขึ้นโดยใชทรัพยากรภายในประเทศในรอบ

                  ระยะเวลา  1  ป  GDP : มูลคาของสินคาและบริการขั้นสุดทายที่ผลิตขึ้นโดยคนไทยและ

                  ชาวตางชาติโดย ใชทรัพยากรของประเทศไทย

                                           (2)  ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ  (Gross National  Product :

                  GNP) แสดงถึง ความสามารถในการผลิต  การบริโภคของคนไทยทั้งประเทศ  โดยผลิตภัณฑ

                  มวลรวมประชาชาติเปนมูลคาของสินคาและบริการขั้นสุดทาย   ซึ่งผลิตขึ้นโดยคนไทยใน

                  ประเทศและคนไทยในตางประเทศ GNP :GDP + รายไดสุทธิจากปจจัยการผลิตตางประเทศ

                                            (3)  รายไดประชาชาติ  (National  Income  : NI)คือ  มูลคาของ

                  รายไดที่ประชาชนคนไทยในประเทศและคนไทยที่ไปทํางานในตางประเทศไดรับในชวง

                  ระยะเวลา  1  ป  ทั้งนี้รายไดประชาชาติคํานวณจากผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ  หักดวย

                  ภาษีทางออมและคาเสื่อมราคา

                  NI : GNP – (ภาษีทางออม + คาเสื่อมราคา)

                                           (4)  รายไดเฉลี่ยตอบุคคล  (Per Capita Income)   คํานวณไดจาก
                  รายไดประชาชาติหารดวยจํานวนประชากร  ซึ่งใชเปนดัชนีสําหรับเปรียบเทียบระดับความอยูดี


                  กินดีของประชาชนของประเทศตาง ๆ    การวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเปนสวนหนึ่งของ
                  การวัดการพัฒนาเศรษฐกิจดังที่ไดกลาวไปแลวขางตน  อยางไรก็ตาม  ในปจจุบันมีแนวคิด

                  การวัดความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness  : GNH)  ขึ้น

                  เนื่องจากการพัฒนาที่ผานมามุงเนนแตการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอยางเดียว

                  จนละเลยความสุขซึ่งเปนเปาหมายสูงสุดของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม  ทั้งนี้ยังไมมีดัชนี

                  วัดความสุขมวลรวมประชาชาติที่แนนอนหรือชัดเจนในขณะนี้  แตถือเปนจุดเริ่มตนของการให

                  ความสําคัญกับความสุขของประชาชน  มากกวาการมุงเนนแตการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28