Page 25 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 25

20




                                     7.1  การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคเกษตรกรรม

                  เมื่อป  พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ
                  พอเพียงใหเกษตรกรนําไปปฏิบัติเพื่อยกฐานะและชีวิตความเปนอยูใหดี


                  ขึ้น  เรียกวา  การเกษตรทฤษฎีใหม  หรือ  ทฤษฎีใหม  ซึ่งมีหลักปฏิบัติ  3  ขั้น  ดังนี้
                                       ขั้นที่  1  ผลิตอาหารเพื่อบริโภคแนวพระราชดําริทฤษฎีใหม  เนนให

                  เกษตรกรสรางความมั่นคงทางอาหารแกครอบครัวตนเองกอน   โดยทํานาขาวเพื่อเก็บไวกิน

                  ตลอดป   เหลือจากการบริโภคจึงขาย  โปรดเกลาฯ ใหทดลองทฤษฎีใหมในที่ดินสวน

                  พระองค  ณ  วัดมงคลชัยพัฒนา  อําเภอเมือง จังหวัดสระบุรี  จํานวน 15  ไร  โดยแบงพื้นที่

                  เปน  4  สวนตามอัตราสวน  30 : 30 : 30 : 10   เนนการบริหารจัดการที่ดินและน้ํา  ซึ่งถือวา

                  เปนหัวใจของการเกษตรทฤษฎีใหม  ดังนี้

                                       รอยละ  30  ของพื้นที่        ขุดสระน้ําไวใชสอยและเลี้ยงปลา

                                       รอยละ  30  ของพื้นที่        ทํานาขาว

                                       รอยละ  30  ของพื้นที่        ปลูกไมยืนตน  พืชไร  พืชสวนครัว

                                       รอยละ  10  ของพื้นที่        ปลูกบาน  โรงนาเก็บอุปกรณ โรงเลี้ยงสัตว



                                       ขั้นที่  2 รวมตัวจัดตั้งกลุม ชมรม หรือสหกรณ   เกษตรกรจะพัฒนาไปสู

                  ระดับพออยูพอกินพอใชใหสมบูรณยิ่งขึ้น  มีรายไดจากผลผลิตเพิ่มมากขึ้น โดยรวมมือจัดตั้ง

                  เปนกลุม ชมรม หรือสหกรณ  ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจรวมกัน  ดังนี้

                                        (1) ดานการผลิต  มีการรวมตัวจัดตั้งเปนกลุมแมบาน ชมรม หรือสหกรณ

                  ผลิตสินคาหรือบริการของชุมชนเพื่อหารายไดชวยเหลือครอบครัวอีกทางหนึ่ง  เชน

                   งานหัตถกรรม
                                         (2)  ดานการตลาด รวมกันสรางอํานาจตอรองในการจําหนายผลผลิตให


                  ไดราคาดี ไมพึ่งพอคาคนกลาง
                                        (3)  ดานสวัสดิการและชีวิตความเปนอยู   มีการจัดตั้งกองทุนใหสมาชิก

                  กูเงิน  ยามฉุกเฉิน  เพื่อชวยเหลือซึ่งกันและกันยามเจ็บไขไดปวย  เกิดอุบัติเหตุ  หรือประสบ

                  ภัยธรรมชาติตาง ๆ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30