Page 26 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 26

21




                                        ขั้นที่  3   รวมมือกับองคกรหรือภาคเอกชนภายนอกชุมชนเปนขั้น

                  พัฒนากลุม   ชมรม   หรือสหกรณใหกาวหนา   โดยกูเงินจากแหลงเงินทุนภายนอกชุมชนมา
                  ลงทุนขยายกิจการ   เชน   ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร   (ธกส.)   บริษัท


                  น้ํามัน  ฯลฯ  หรือขอความชวยเหลือดานวิชาการจากหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเปาหมาย
                  ของขั้นที่  3  คือ  พัฒนากิจการสหกรณ  จัดตั้งและบริหารโรงสีขาวของชุมชน  ปมน้ํามันของ

                  ชุมชนใหเขมแข็งยิ่งขึ้น   พัฒนาคุณภาพของเกษตรกรใหอยูดีกินดี   จําหนายผลผลิตไดราคา

                  สูง   ไมถูกกดราคา   ซื้อเครื่องมืออุปกรณการเกษตรและสินคาอุปโภคบริโภคตาง ๆ ในราคา

                  ถูก  เปนตน

                                7.2 การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคอุตสาหกรรมการคา

                  และการบริการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปประยุกตใชกับธุรกิจเอกชน

                  ทั้งภาคอุตสาหกรรม การคา และการบริการ  ดังนี้

                                        1)  ความพอประมาณ  ผูประกอบการควรยึดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้

                                             (1)  พอประมาณในการผลิต   ไมผลิตสินคามากเกินความตองการ

                  ของผูบริโภคจนเหลือลนตลาด  ถือเปนการชวยประหยัดพลังงาน  และทรัพยากรในการผลิต

                                            (2) พอประมาณในผลกําไร  ไมคากําไรเกินควรจนผูบริโภค

                  เดือดรอน  ไมกดราคา รับซื้อผลผลิตจากเกษตรกร  มีการแบงปนผลกําไรสวนหนึ่งไปพัฒนา

                  คุณภาพฝมือแรงงานและองคกรของตน  รวมทั้งคืนกําไรสูสังคม  โดยตอบแทนชวยเหลือสังคม

                  ในรูปแบบตาง ๆ

                                        2)  ความมีเหตุผล    แนวทางปฏิบัติดังนี้

                                              (1)  มีเหตุผลในการพัฒนาองคกร โดยใหความสําคัญตอการพัฒนา

                  ประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากรในองคกร ทั้งพนักงาน ลูกจาง และผูใชแรงงาน ตัดทอน
                  รายจายที่ไมจําเปนรวมทั้งพัฒนาคุณภาพสินคา และเพิ่มปริมาณผลผลิต  เปนตน


                                        (3) มีเหตุผลในการจัดสวัสดิการใหพนักงาน ลูกจาง และผูใชแรงงาน
                                        3)  การมีภูมิคุมกันที่ดี    ผูประกอบการควรใหความสําคัญและนําไป

                  ปฏิบัติ ดังนี้

                                             (1) ติดตามขาวสารและสถานการณตาง ๆ  ทั้งภายในและ

                  ตางประเทศ  ซึ่งอาจมีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของตน เชน ความผันผวนทาง

                  เศรษฐกิจ การเมือง และความเปลี่ยนแปลงของสภาพดินฟาอากาศและภัยธรรมชาติ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31