Page 24 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 24
19
ประเทศที่เปนผูนําเสนอแนวคิดการวัดความสุขมวลรวมประชาชาติ
(Gross National Happiness : GNH) ขึ้นคือประเทศภูฏาน โดยมีหลักการ
สําคัญ 4 ประการ คือ
การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
การอนุรักษและสงเสริมคุณคาทางวัฒนธรม
การรักษาสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ
การมีธรรมาภิบาล
6. ความหมายและความเปนมาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
6.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ คือ การกําหนดแนวทางการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพื่อใหประชาชนมีชีวิตและความเปนอยูที่ดีขึ้น
โดยการเขามามีสวนรวมของประชาชนทุกขั้นตอนอยางเปนระบบ
6.2 ความเปนมาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประเทศไทย
ไดมีการริเริ่มจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจของชาติมาตั้งแตป พ.ศ. 2502 ในสมัยรัฐบาล
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต โดยในป พ.ศ. 2504 ไดประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ
ฉบับแรกขึ้น ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 มีระยะเวลาของแผน 6 ป โดยที่
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับตอ ๆ มา มีระยะเวลาของแผน 5 ป หนวยงานที่
มีหนาที่รับผิดชอบในการจัดทําแผน คือ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ โดยปจจุบันประเทศไทยกําลังอยูในชวงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ซึ่งสาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติแตละฉบับมีดังตอไปนี้
7. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
เศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกตใชไดทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของ
เศรษฐกิจ ไมจําเปนจะตองจํากัดเฉพาะแตภาคเกษตร หรือภาคชนบท แมแตภาค
การเงิน ภาคอสังหาริมทรัพย และการคาการลงทุนระหวางประเทศ โดยมีหลักการ
ที่คลายคลึงกันคือ เนนการปฏิบัติอยางพอเพียง มีเหตุมีผล และสรางภูมิคุมกันใหแกตนเอง
และสังคม