Page 76 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 76

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  75
































                                     รูปที่ 5.11  Big Data ในอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
                                              [ที่มา. http://bigdataexperience.org]


                 5.3 Big Data และ Digital Marketing ในมาตรการการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร


                  ป พ.ศ. 2561-2570

                       มาตรการการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ป พ.ศ. 2561-2570 เกิดขึ้นมาจากการเกิดกระบวนการวิเคราะห

               ขอมูล Big Data Analytics โดยรวบรวมจากฐานขอมูลหนวยงานภาครัฐทุกหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งหนวยงานหลักและ
               หนวยงานสนับสนุน ไดแก กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
               กระทรวงพาณิชย สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว. กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานคณะกรรมการ

               การอุดมศึกษา (สกอ. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรว งการทองเที่ยวและกีฬา และสำนักงานคณะกรรมการ
               สงเสริมการลงทุนหนวยงานสนับสนุน ไดแก กระทรวงแรงงาน กระทรวงการคลัง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงกลาโหม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ

               มนุษย กระทรวงมหาดไทย สำนักงบประมาณ สภาความมั่นคงแหงชาติคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค คณะกรรมการสุขภาพ
               แหงชาติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สภา
               อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สภาหอการคาไทย และคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย เพื่อนำมาจัดทำมาตรการ
               การพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ป พ.ศ. 2561-2570 ซึ่งสรุปสาระสำคัญไดดังนี้


                              1.  ความสำคัญและสถานการณของอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารของไทย อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารมี
               ตลาดทั้งภายในประเทศและตางประเทศ สวนใหญจะเปนการผลิตเพื่อปอนตลาดภายในประเทศ เนื่องจากผูประกอบการมี
               ความเขาใจตอรสนิยมและความตองการของผูบริโภคภายในประเทศ ปจจุบันมีสัดสวนการจำหนายภายในประเทศ รอยละ 70

               ของปริมาณการผลิตทั้งหมดสวนผลผลิตที่เหลือจะเปนการผลิตเพื่อสงออก ตนทุนการผลิตอุตสาหกรรมอาหารสวนใหญเปน
               ทางดานวัตถุดิบ มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 80 ของตนทุนการผลิตทั้งหมด ซึ่งเปนการใชวัตถุดิบภายในประเทศ รอยละ 85




                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81