Page 77 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 77

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  76

               นอกจากนี้อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารยังเชื่อมโยงกับการผลิตในขั้นตอนตาง ๆ ของหวงโซอุปทาน (Supply Chain ซึ่งท ำให

               เกิดการสรางมูลคาเพิ่มใหกับวัตถุดิบการเกษตรในประเทศ
                       การสงออกอาหารไทย ป 2560 มีมูลคา 1,015,816 ลานบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 6.9 เมื่อเทียบกับป 2559 มี

               สวนแบงตลาดรอยละ 2.3 อยูในอันดับที่ 15 ของโลก ตลาดอาหารสงออกอันดับ 1 ของไทย คือ อาเซียน มีสัดสวนสงออกรอย
               ละ 27.1 รองลงมาไดแก ญี่ปุน รอยละ 13.3 สหรัฐอเมริกา รอยละ 10.9 แอฟริกา รอยละ 9.8 จีน รอยละ 9.0 และสหภาพ

               ยุโรป รอยละ 8.8

                       สินคาสงออกที่สำคัญ ป2560 ไดแก ขาว อันดับที่ 1 มีสัดสวนสงออกรอยละ 17.2 รองลงมาไดแก ไก (รอยละ 10.0 ,
               น้ำตาลทราย (รอยละ 9.0 , กุง (รอยละ 6.9 , ปลาทูนากระปอง (รอยละ6.9 , แปงมันสำปะหลังดิบ (รอยละ 3.5 , สับปะรด
               กระปอง (รอยละ 2.4 , เครื่องปรุงรส (รอยละ 2.2 , มะพราว (รอยละ 1.7 และอาหารพรอมรับประทาน (รอยละ 0.6

               นอกจากนี้ ยังมีสินคาในกลุมอื่น ๆ เชน นมและผลิตภัณฑนม ผลไมสด นาผลไม รวมทั้งขนมขบเคี้ยวตางๆ เปนตน

                       อุตสาหกรรมอาหารสรางมูลคาเพิ่ม (GDP ใหกับเศรษฐกิจไทยมูลคา 878,965 ลานบาท ป 2559 คิดเปนสัดสวน
               รอยละ 6.0 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP หรือรอยละ 22.2 ของ  GDP ภาคอุตสาหกรรมการผลิต และการ
               ประกอบการและการจางงาน มีผูประกอบการแปรรูปอาหาร จำนวน 1.12 แสนราย มีผลผลิตสินคาอาหารคิดเปนมูลคา

               ประมาณ 2 ลานลานบาท กอใหเกิดการจางงานประมาณ 10.9 (ขอมูลของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
               สังคมแหงชาติ (สศช.

                       2. มาตรการการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารการกำหนดมาตรการในการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร
               เพื่อเปนกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีวัตถุประสงคที่สำคัญ แบงเปน 2 สวน ไดแก

                       สวนแรก คือ New Growth Engines หมายถึง กลไกขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจชุดใหม ดวยการแปลงความ

               ไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบที่มีอยู 2 ดาน คือ “ความหลากหลายเชิงชีวภาพ” และ “ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม” ใหเปน
               “ความไดเปรียบในเชิงแขงขัน” ดวยความคิดสรางสรรค นวัตกรรม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนาใหกับ

               ผลิตภัณฑอาหาร ซึ่งเปนหนึ่งในอุตสาหกรรม S-Curve เพื่อตอยอดสูเชิงพาณิชยและสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาสงออกของ
               ไทย

                       สวนที่สอง คือ Inclusive Growth Engines หมายถึง กลไกขับเคลื่อนที่คนสวนใหญมีสวนรวมอยางเทาเทียมและ
               ทั่วถึง เพื่อใหเกษตรกร ผูประกอบการ ตลอดทั้งหวงโซอุปทานของอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารไดรับประโยชนและเปนการ

               กระจายรายได โดยการสรางคลัสเตอรเศรษฐกิจระดับกลุมจังหวัด การพัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานรากในชุมชน การสราง
               สภาพแวดลอมที่เอื้ออานวยตอการทำธุรกิจการสงเสริมและสนับสนุนใหวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมเขมแข็งและ
               สามารถแขงขันไดในเวทีโลกเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การยกระดับขีดความสามารถ และการเสริมสรางทักษะ

                       มาตรการฯ ดังกลาวเปนการเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวและการแขงขันของผูประกอบการอาหารไทย โดย

               จะดำเนินการสรางปจจัยที่นำไปสูเปาหมายการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารหรือที่เรียกวา “การสรางยกกำลัง 4” ประกอบดวย

                       1 สรางนักรบอุตสาหกรรมอาหารพันธุใหม ( Food Warriors
                       2 สรางนวัตกรรมอาหารอนาคต ( Future Food Innovation
                       3 สรางโอกาสทางธุรกิจ ( New Marketing Platform และ

                       4 สรางปจจัยพื้นฐานเพื่อเรงการพัฒนาอุตสาหกรรม ( Enabling




                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82