Page 1488 - บทคดยอการทดลองสนสด 58 สมบรณ_Neat
P. 1488

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2558




                       1. ชุดโครงการวิจัย          -
                       2. โครงการวิจัย             วิจัยการศึกษาและพัฒนาคู่มือการตรวจรับรองแหล่งผลิต GAP พืช

                                                   และการผลิตพืชอินทรีย์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานระดับชาติและระดับ

                                                   ภูมิภาคอาเซียน
                       3. ชื่อการทดลอง             การศึกษาและพัฒนาคู่มือการตรวจรับรองแหล่งผลิต GAP พืช

                                                   ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ASEAN GAP

                                                   Study and Development of GAP Crop Production Certification
                                                   Manuals According to ASEAN GAP STANDARD

                                                                      1/
                       4. คณะผู้ดำเนินงาน          คณพศ  โกสินทร์วิกรม          สุธาทิพย์  การรักษา 1/
                                                   จงรักษ์  อิ่มใจ              บุญเลิศ สอาดสิทธิศักดิ์ 3/
                                                               2/
                                                                    4/
                                                   สนิทพิมพ์  สิมมาทัน          ทิติยา  ธานี 5/
                                                   ทอม  เตียะเพชร               จงรักษ์  จารุเนตร 7/
                                                                 6/
                                                   ศรีเวียง  มีพริ้ง            ศิริกุล  โกกิฬา 9/
                                                                8/
                       5. บทคัดย่อ
                              การศึกษาและพัฒนาคู่มือการตรวจรับรองแหล่งผลิต GAP พืช ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน

                       ASEAN GAP ดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงกันยายน 2558 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคู่มือ

                       การตรวจรับรองแหล่งผลิต GAP พืช กรมวิชาการเกษตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานระดับภูมิภาคอาเซียน
                       โดยมีผลการเปรียบเทียบข้อกำหนดมาตรฐาน GAP พืช กรมวิชาการเกษตร กับมาตรฐาน ASEAN GAP

                       เพื่อปรับปรุงแบบบันทึกการตรวจประเมินแหล่งผลิต GAP พืช กรมวิชาการเกษตร โดยทำการปรับ

                       ข้อกำหนดมาตรฐาน GAP พืช กรมวิชาการเกษตรใหม่ให้เป็นไปตามมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติ
                       ทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร โดยพิจารณาจากผลการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับข้อกำหนด

                       ของมาตรฐาน ASEAN GAP ได้ข้อกำหนดใหม่จำนวน 8 ข้อกำหนด ดังนี้ 1) น้ำ  2) พื้นที่ปลูก

                       3) วัตถุอันตรายทางการเกษตร  4) การจัดการคุณภาพในกระบวนการผลิตก่อนการเก็บเกี่ยว
                       5) การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว  6) การพักผลิตผล การขนย้ายในแปลงปลูก และการ

                       เก็บรักษา  7) สุขลักษณะส่วนบุคคล  8) การบันทึกข้อมูลและการตามสอบ และจัดทำคู่มือการตรวจ
                       ประเมินแหล่งผลิต GAP พืช จำนวน 1 ฉบับ และคู่มือการตรวจรับรองแหล่งผลิต GAP พืช ตาม ISO/IEC

                       17065 จำนวน 1 ฉบับ รวมทั้งศึกษาและวิจัยผลกระทบของมาตรฐาน ASEAN GAP ต่อการปฏิบัติของ

                       เกษตรกรและการปฏิบัติงานตรวจประเมินของผู้ตรวจประเมิน ซึ่งพบว่าเมื่อเกษตรกรปฏิบัติตามมาตรฐาน


                       ___________________________________________
                       1/ กองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช          2/ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1

                       3/ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2             4/ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3
                       5/ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4             6/ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5
                       7/ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6             8/ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7

                       9/ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8   1421
   1483   1484   1485   1486   1487   1488   1489   1490   1491   1492   1493