Page 149 - รวมเล่ม บทที่ 1-252 Ebook
P. 149

125

               ความสําคัญไม่น้อยกว่าข ้อที่ 1             เมื่อใดเรารู้เท่าทันความเป็น
               เลยคือ เป็นข ้อที่มนุษย์เรา                จริงดังกล่าว ก็เท่ากับตัด

               คิดกันไม่ออก และไม่อาจจะ                   ปัญหาไปได ้ทุกสิ่ง
               ก ้าวข ้าม หรือทะลุกันไปได ้
               จึงไม่อาจอาจจะมีพลังจิต                    ●อจ.เคยยกตัวอย่างให ้ฟังว่า

               ละเอียด                                    มีบ ้านๆหนึ่ง มีพ่อแม่
               ขั้นสูง ตลอดจนไม่อาจจะหลุด                 และลูกชาย2คนคนน้องเป็น
               พ ้นกองทุกข์กันไปได ้                      คนดี อีกคนหนึ่งเป็นพี่ มีนิสัย
               ดังจะได ้กล่าวโดยละเอียด                   เกเร อยู่มาวันหนึ่งคนพี่ไป

               เรื่อง"จิตทะลุ"นี้                         แกล ้งน้องแล ้วเกิดทะเลาะชก
               ในบทต่อๆไป...                              ต่อยกัน

               ■■บทเรียน#108■■                            พ่อแม่ของลูกทั้งสอง

               ===============                            ตัดสินปัญหาด ้วยการลงโทษ
               "จิตทะลุ" หรือ "จิตก ้าวข ้าม"             ใช ้ ไม ้เรียวตีทั้งคู่ ทั้งนี้ไม่เลือก

                                                          ตีคนพี่คนเดียว ซึ่งเป็นฝ่ ายผิด
               ●ดังได ้เกริ่นไว ้แล ้ว
               ในท ้ายบทเรียน#107                         ก็เพราะต ้องการจะตัดปัญหา
               ว่า"จิตทะลุ" คือการก ้าวข ้าม              ไม่ให ้เกิดมีการทะเลาะกันใน

               ผ่านการหลงผิดที่คิดว่าในโลก                บ ้านอีกโดยเด็ดขาด จึงไม่
               นี้มีสิ่งสองสิ่งเป็นคู่กันตรงกัน           เข ้าข ้างฝ่ ายใดทั้งดี ทั้งไม่ดี
               ข ้ามกันเช่น ดี-ชั่ว บุญ-บาป               ●การก ้าวข ้ามมายาทั้งหลาย
               สัมมา-มิจฉา                                ก็เช่นเดียวกัน ก็ต ้องก ้าวข ้าม

               นิพพาน-สังสารวัฏ ขาว-ดํา                   หรือทะลุผ่านไปทั้งดีและชั่ว
               สูง-ตํ่าหอม-เหม็น สว่าง-มืด                เพื่อไปสู่สิ่งที่บริสุทธิ์กว่าดีชั่ว
               รู้-ไม่รู้ ฯลฯ                             ก็คือความบริสุทธิ์แท ้

               ทําให ้เกิดการรักทางหนึ่ง                  หรือความว่างแท ้ หรือ
               แล ้วเกลียดหรือไม่ชอบอีกทาง                ธรรมชาติแท ้อันเป็นอนันตกาล
               หนึ่งความจริงแล ้วมันว่างจาก               หรือนิรันดร์กาล
               ทั้งสองสิ่งทุกสิ่ง ทั้งรูปบัญญัติ          เพราะยึดดีก็ติดดี ดีเป็นมายา

               และนามบัญญัติ                              มันก็กัดเราเท่ากับความชั่ว
               มันไม่ใช่ทั้งความมีตัวตน                   ยึดดีก็ยังมีการยึดมั่นถือมั่น
               และไม่ใช่ทั้งความเป็นจริง                  มีการปรุงแต่งที่ซับซ ้ อน
                                                          มีนินทา สรรเสริญ
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154