Page 260 - คู่มือนักศึกษา 2558
P. 260
แนวคิดแบบญี่ปุ่นของการท�างานเป็นกลุ่ม กระบวนการท�างานในกลุ่ม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่ม อิทธิพล ทัศนคติของบุคคล
ในกลุ่ม บทบาทและบุคลิกภาพของผู้น�า การจัดการเกี่ยวกับข้อขัดแย้งในการท�างาน การสร้างความร่วมมือของบุคคลในกลุ่ม และแนวทางการ
พัฒนาภาวะผู้น�าและการจัดการกลุ่ม
HRM-404 การพัฒนาองค์การและการจัดการการเปลี่ยนแปลง 3(3-0-6)
(Organization Development and Change Management)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : ไม่มี
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาองค์การ ขั้นตอนการด�าเนินการเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมองค์การเพื่อท�าการ
เปลี่ยนแปลง การก�าหนดวัตถุประสงค์ การสร้างแรงกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวในองค์การ เทคนิคหรือบทแทรก (Intervention) ต่าง ๆ และวิธีการ
เปลี่ยนแปลงองค์การในระดับบุคคล กลุ่ม กระบวนการ โครงสร้างองค์การ และกลยุทธ์ขององค์การ การด�ารงรักษาให้การเปลี่ยนแปลงใหม่
ด�ารงอยู่ การประเมินผลติดตามการเปลี่ยนแปลง บทบาทของผู้ริเริ่มการเปลี่ยนแปลงและผู้บริหารการเปลี่ยนแปลง ศึกษากรณีศึกษาประกอบ 247
HRM-405 การพัฒนาหัวหน้างานและผู้บริหาร 3(3-0-6)
(Supervision Techniques)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : ไม่มี สถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น Thai-Nichi Institute of Technology
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของหัวหน้างานและผู้บริหาร การพัฒนาภาวะผู้น�า การสร้างและพัฒนาทีมงาน การสร้าง
มนุษยสัมพันธ์ การมอบหมายงาน การสอนงาน การสั่งงาน การจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ การ
สร้างแรงจูงใจ/การสื่อความหมาย ทักษะการพูดและการสร้างบรรยากาศที่ดี
HRM-407 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 3(3-0-6)
(Kaizen Management)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : ไม่มี
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
แนวคิด หลักการที่ส�าคัญ ประกอบด้วย หลัก 5ส หลัก 5 Why หลัก Visualization และขั้นตอนการท�า Kaizen ตามแบบ PDCA หรือ
(Plan-Do-Check-Act) เป็นกิจกรรมพื้นฐานในการพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพของการด�าเนินงาน ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ วางแผน-
ปฏิบัติ-ตรวจสอบ-ปรับปรุงการด�าเนินกิจกรรม บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารและพนักงานต่อการน�า Kaizen มาใช้ในองค์กร การคัดเลือกและ
ก�าหนดปัญหาที่จะด�าเนินการปรับปรุง การท�าความเข้าใจปัญหา การวางแผนการแก้ไขปัญหา การก�าหนดวิธีการที่ได้จากการวิเคราะห์ การน�า
เอาผลที่ได้มาวิเคราะห์ การจัดท�ามาตรฐาน เพื่อน�าไปปฏิบัติ ส่งผลให้การด�าเนินงานมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเพิ่มขึ้น กรณีศึกษา