Page 71 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 71
ั
ิ
์
โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
ิ
ั
็
4) เทคนิคการค้นหาวัตถุพยานในคดีเกี่ยวกับทรพย์
ั
การสำรวจสภาพแวดล้อมโดยรอบ โดยสำรวจลักษณะสภาพสถานที่
1 เกิดเหตุและสภาพแวดล้อมโดยรอบ เพื่อทราบถึงสภาพที่เกิดเหตุ วัตถุพยาน
เพื่อวิเคราะห์หาเส้นทางเข้า - ออกของผู้กระทำผิด
ควรมุ่งเน้นที่วัตถุพยานที่เสียหายได้ง่ายก่อน ตัวอย่างเช่น บริเวณที่มีการ
2 รื้อค้นอาจมีการพบรอยลายนิ้วมือ ฝ่ามือ รอยลายเท้าแฝง บริเวณประตู
หน้าต่างที่ถูกผู้กระทำผิดงัดแงะ เป็นต้น
การค้นหาร่องรอยวัตถุพยาน โดยค้นหาจากร่องรอยที่ถูกงัดแงะ รอยเจาะ
3 รอยตัด และลำดับเหตุการณ์ดูทิศทางการกระจายของวัสดุ เช่น เศษกระจก
ี่
ั
ที่ทุบแตก การแตกของเนื้อไม้ คราบฝุ่นละอองที่ตกลงมาจากเพดานทถูกงด
บันได เป็นต้น
4 การค้นหาร่องรอยบริเวณที่ถูกรื้อค้น ได้แก่ รอยงัดลูกบิด หน้าต่าง งัดตู้
นิรภัย รื้อค้นชั้นวางโทรทัศน์ ลิ้นชัก ตู้เสื้อผ้า เป็นต้น
การค้นหาวัตถุพยานหรือเครื่องมือที่คนร้ายทิ้งไว้ในสถานที่เกิดเหต
ุ
5
ถึงแม้สิ่งของนั้นจะเป็นของเจ้าทุกข์ก็ตาม เช่น ไขควงในบ้านนำมางัดตู้นิรภัย
6 การค้นหาร่องรอยขนาดเล็กเพื่อวิเคราะห์เชื่อมโยงไปสู่ตัวผู้กระทำผิด ได้แก่
คราบเลือด เส้นขน เส้นผม เส้นใย รอยลายนิ้วมือแฝง ฝ่ามือแฝง ฝ่าเท้าแฝง
้
บนวัตถุ คราบเหงื่อ รอยรองเท้า รอยยางรถยนต์ เครื่องมือที่คนร้ายใช
ในการงัดแงะ ก้นบุหรี่ เป็นต้น
70 คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน