Page 215 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 215

ห น า  | 215



                             นอกเหนือจากอาชีพที่ใชภาษาไทยเปนชองทางในการประกอบอาชีพโดยตรงแลว ยังมี
                  การประกอบอาชีพอื่นๆ อีกที่ใชภาษาไทยเปนชองทางโดยออม เพื่อนําไปสูความสําเร็จในอาชีพ

                  ของตนเอง เชน  อาชีพลาม มัคคุเทศก เลขานุการ นักแปล และนักฝกอบรม ครู อาจารย เปนตน














                    เรื่องที่ 3 การเพิ่มพูนความรูและประสบการณทางดานภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ



                         ในการนําความรูทางภาษาไทย ทั้งทักษะการพูดและการเขียนไปใชในการประกอบอาชีพนั้น

                  เพียงการศึกษาในชั้นเรียนและตําราอาจจะยังไมเพียงพอ ผูประกอบอาชีพตองเพิ่มพูนความรูและ

                  ประสบการณดานภาษาและดานตางๆ เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบความสําเร็จ ดังจะยกตัวอยาง
                  อาชีพที่ใชภาษาไทย เปนชองทางในการประกอบอาชีพโดยตรงเพื่อเปนตัวอยาง ดังนี้



                  1.  อาชีพนักโฆษณา-ประชาสัมพันธ
                         เปนอาชีพที่ผูประกอบการ ตองเพิ่มพูนความรูในเรื่องการเขียน และการพูดแบบสรางสรรค

                  รวมทั้งฝกประสบการณโดยการฝกเขียนบอยๆ ตลอดจนการศึกษาดูงานของหนวยงาน หรือบริษัเอกชนที่

                  ประสบความสําเร็จในเรื่องของการโฆษณาและประชาสัมพันธ

                           องคความรูที่ควรศึกษาเพิ่มเติม
                           ในการเพิ่มพูนองคความรูในดานการเขียนและการพูด ผูประกอบอาชีพดานนี้ ควรศึกษา

                  เนื้อหาความรูที่จะนําไปใชในการพัฒนาอาชีพในเรื่องตอไปนี้

                           1)  ศิลปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะอาชีพนักโฆษณาประชาสัมพันธเปนอาชีพที่
                  ตองอาศัยศาสตรทั้งสองดานประกอบกัน ในการพูดน้ําเสียงตองนุมนวลหรือเราใจขึ้นอยูกับสถานการณ

                  ของเรื่องที่จะโฆษณาหรือประชาสัมพันธ รูจักเลือกใชถอยคําที่เปนการใหเกียรติแกผูฟง หรือเคารพ

                  ขอมูลที่เจาของงานใหมา

                           2)  ระดับของภาษา ซึ่งเปนเรื่องของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง
                  ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะและความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสื่อสารและผูรับสาร ซึ่งกลุม
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220