Page 217 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 217

ห น า  | 217



                         2)  หนวยงานของทางราชการ ไดแก กรมประชาสัมพันธ สถาบันสงเสริมการศึกษานอกระบบ
                  และการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตางๆ

                         3)  สถานศึกษาตางๆ ของรัฐบาล  เชน  ผูที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน   ตอง

                  ศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  และเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา  คณะนิเทศศาสตร คณะ
                  วารสารศาสตร คณะศิลปะศาสตร คณะอักษรศาสตร ถาศึกษาตอใน 2 คณะหลัง ตองฝกอบรมทาง

                  อาชีพเพิ่มเติมจากสถาบันฝกอบรมตางๆ



                  2.  อาชีพนักจัดรายการวิทยุ
                         เปนอาชีพที่ผูประกอบการตองเปนคนที่ตรงตอเวลา มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความเปนกลางใน

                  การนําเสนอขาวสารขอมูล รูจักแกปญหาเฉพาะหนาและตองเพิ่มพูนความรูในเรื่องการเขียน และการ

                  พูด เพราะการเปนนักจัดรายการวิทยุ  ผูจัดตองเขียนสคริปทที่จะใชในการดําเนินรายการไดเอง และ
                  พูดตามสคริปทไดอยางเปนธรรมชาติ รวมทั้งตองอานมาก ฟงมาก เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลไวใชในการ

                  จัดทํารายการวิทยุ ซึ่งมีสถานที่ที่ผูประกอบการสามารถฝกอบรมและศึกษาดูงานไดทั้งของภาครัฐ

                  และเอกชน



                         องคความรูที่ควรศึกษาเพิ่มเติม

                         ในการเพิ่มพูนความรูเพื่อการเปนนักจัดรายการวิทยุที่ดี ผูประกอบอาชีพดานนี้ควรศึกษา

                  เนื้อหาความรูที่จะนํามาใชในการพัฒนาอาชีพในเรื่องตอไปนี้

                         1)  ศิลปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะเปนอาชีพที่ตองอาศัยศาสตรทั้งสองดานประกอบกัน

                         2)  ระดับของภาษา ซึ่งเปนเรื่องของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง
                  ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสงสารและผูรับสาร ซึ่ง

                  กลุมบุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลุม หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ ภาษา

                  จึงมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับพระภิกษุสงฆและพระ
                  ราชวงศ อาจใชถอยคําภาษาอยางหนึ่ง ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผูอาน ก็จะใชภาษาอีกอยาง

                  หนึ่ง เปนตน ดังนั้นผูใชภาษาจึงตองคํานึงถึงความเหมาะสม และเลือกใชใหถูกตองเหมาะสมกับ

                  กาลเทศะและบุคคล
                            ในภาษาไทยจะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คือ

                            2.1  ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธี หรืองานพิธีของรัฐ

                            2.2  ภาษาระดับทางการ เปนภาษาที่ใชในที่ประชุมที่มีแบบแผน ในการบรรยาย การ
                  อภิปรายที่เปนทางการ เปนตน
   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222