Page 218 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 218
218 | ห น า
2.3 ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษาที่ใชในการอภิปราย ประชุมกลุมในหองเรียน การพูด
ทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ เปนตน
2.4 ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาที่ใชสนทนาทั่วๆ ไปกับคนที่ไมคุนเคยมากนัก
เชน ครูพูดกับผูเรียน เปนตน
2.5 ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับปากเปนภาษาสนทนาของครอบครัว
ในหมูเพื่อนสนิท หรือญาติพี่นอง พูดอยูในวงจํากัด
3) เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับอารมณความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฎให
รูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเนื้อหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝงที่
ปรากฎในการสื่อสาร ซึ่งนักจัดรายการวิทยุตองระมัดระวังมิใหมีน้ําเสียงของภาษาออกมาในทางที่ไม
พึงประสงค หรือสรางความรูสึกที่ไมดีแกผูฟง
4) เรื่องของหลักการใชภาษา เชน เรื่องของคําสรรพนามที่เกี่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม คํา
ราชาศัพท การออกเสียง ร ล และการออกเสียงคําควบกล้ํา
5) ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางครั้งนักจัดรายการวิทยุตองปรากฎตัวตอบุคคลทั่วไปใน
งานตางๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานที่และงานที่ไป ซึ่งจะชวย
สรางความนาเชื่อถือแกผูพบเห็นไดสวนหนึ่ง
6) การพัฒนาองคความรูในตนเอง นักจัดรายการวิทยุ ตองหมั่นแสวงหาความรูติดตาม
ขาวสารขอมูลทุกดานอยางสม่ําเสมอ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดรายการวิทยุให
นาสนใจอยูตลอดเวลา รวมทั้งตองแสวงหาความรูในดานการประเมินผล เพื่อใชประโยชนในการ
ประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตางๆ ที่จะกอใหเกิดการพัฒนาอาชีพใหดี
ยิ่งขึ้น
แหลงที่ควรศึกษาเพิ่มเติม
แหลงที่ควรศึกษาเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มพูนความรูในอาชีพนี้ ไดแก
1. สถาบันฝกอบรมของเอกชน ซึ่งผูเรียนสามารถหาขอมูลรายชื่อไดจากอินเตอรเน็ต
2. หนวยงานของทางราชการ ไดแก กรมประชาสัมพันธ สถาบันสงเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตางๆ
3. สถานศึกษาตางๆ ของรัฐบาล เชน ผูที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ตองศึกษา
ตอในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และเขาศึกษาตอในคณะนิเทศศาสตร คณะวารสารศาสตร คณะ
ศิลปะศาสตร คณะอักษรศาสตร ถาเขาศึกษาในคณะศิลปะศาสตร หรืออักษรศาสตรตองอบรม
เพิ่มเติมในเรื่องเทคนิคการจัดรายการวิทยุเพิ่มเติม