Page 216 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 216

216 | ห น า



                  บุคคลในสังคมแบงออกเปนหลายกลุม หลายชนชั้นตามสภาพอาชีพถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมีความ
                  แตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน  ถอยคําที่ใชกับพระภิกษุสงฆและพระราชวงศ อาจใช

                  ถอยคําอยางหนึ่ง   ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผูอาน  ก็อาจจะใชภาษาอีกอยางหนึ่ง  เปนตน

                  ดังนั้นผูใชภาษาจึงตองคํานึงถึงความเหมาะสมและเลือกใชใหถูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะ และบุคคล
                                ในภาษาไทย จะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คือ

                                2.1)  ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธีหรืองานพิธีของรัฐ

                                2.2)  ภาษาระดับทางการ เปนภาษาที่ใชในที่ประชุมที่มีแบบแผนการบรรยาย การ

                  อภิปรายที่เปนทางการ เปนตน
                                2.3)  ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษาที่ใชในการอภิปราย ประชุมกลุมในหองเรียน

                  การพูดทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ

                                2.4)  ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาที่ใชสนทนาทั่วๆ ไป กับคนที่ไมคุนเคย
                  มากนัก เชน ครูพูดกับผูเรียน เปนตน

                                2.5)  ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับภาษาปาก เปนภาษาสนทนา

                  ของครอบครัว ในหมูเพื่อนสนิท หรือญาติพี่นอง พูดอยูในวงจํากัด
                           3)  เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับอารมณความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฎ

                  ใหรูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเนื้อหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝงที่

                  ปรากฎในการสื่อสาร ซึ่งนักโฆษณาประชาสัมพันธตองระมัดระวังมิใหมีน้ําเสียงของภาษาออกมา
                  ในทางที่ไมพึงประสงค หรือสรางความรูสึกที่ไมดีแกผูฟง

                           4)  ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางครั้งนักโฆษณา-ประชาสัมพันธตองปรากฎตัวตอบุคคล

                  ทั่วไปในงานตางๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานที่และงานทั่วไป

                  ซึ่งจะชวยสรางความนาเชื่อถือแกผูพบเห็นไดสวนหนึ่ง
                           5)  การพัฒนาองคความรูในตนเอง นักโฆษณา-ประชาสัมพันธ ตองหมั่นแสวงหาความรู

                  ติดตามขาวสารขอมูลทุกดานอยางสม่ําเสมอ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการโฆษณา-

                  ประชาสัมพันธใหนาสนใจอยูตลอดเวลา รวมทั้งตองแสวงหาความรูในดานการประเมินผล เพื่อใช

                  ประโยชนในการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตางๆ ที่จะกอใหเกิดการ
                  พัฒนาอาชีพใหดียิ่งขึ้น



                         แหลงที่ควรศึกษาเพิ่มเติม
                         แหลงที่ควรศึกษาเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มพูนความรูในอาชีพนี้ ไดแก

                         1)  สถาบันฝกอบรมของเอกชน ซึ่งผูเรียนสามารถหาขอมูลรายชื่อไดจากอินเตอรเน็ต
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221