Page 219 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 219

ห น า  | 219




                  3.  อาชีพพิธีกร

                         เปนอาชีพที่ผูประกอบอาชีพตองมีพื้นฐานความรูในเรื่องการพูดเปนอยางดี เพราะเปนอาชีพ   ที่

                  ตองใชการพูดเปนเครื่องมือในการสื่อสารกับผูอื่น การใชคําพูดและถอยคําภาษาจึงเปนเรื่องสําคัญตอการ

                  สรางความรูสึกที่ดีหรือไมดีตอผูฟง นอกจากนี้บุคลิกภาพและการแตงกายของผูทําหนาที่พิธีกรก็เปนอีก
                  เรื่องหนึ่งที่จะดึงดูดความสนใจของผูฟง รวมทั้งควรเปนผูที่ตรงตอเวลา เพื่อเปนความเชื่อถือในวิชาชีพได

                  สวนหนึ่ง

                         องคความรูที่ควรศึกษาเพิ่มเติม
                         ในการเพิ่มพูนองค ความรูในการประกอบอาชีพพิธีกร ควรศึกษาเนื้อหาความรูที่จะนําไปใช

                  ในการพัฒนาอาชีพในเรื่องตอไปนี้

                         1.  ศิลปะะการพูดหรือศิลปะะการใชภาษา เพราะอาชีพพิธีกร เปนอาชีพที่ตองอาศัยศาสตร
                  (ความรู) และศิลปของการพูดเปนอยางมาก ซึ่งตองอาศัยการฝกฝนบอยๆ

                         2.  ระดับของภาษา ซึ่งเปนเรื่องของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง

                  ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสงสารและผูรับสาร ซึ่งกลุม

                  บุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลุม หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมี
                  ความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับพระภิกษุสงฆและพระราชวงศ อาจใช

                  ถอยคําภาษาอยางหนึ่ง ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผูอาน  ก็จะใชภาษาอีกอยางหนึ่ง เปนตน

                  ดังนั้นผูใชภาษาจึงตองคํานึงถึงความเหมาะสม และเลือกใชใหถูกตองเหมาะสม กับกาลเทศะและบุคคล


                            ในภาษาไทยจะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คือ

                            2.1  ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธี หรืองานพิธีของรัฐ

                            2.2  ภาษาระดับทางการ เปนภาษที่ใชในที่ประชุมที่มีแบบแผน ในการบรรยาย การ
                  อภิปรายที่เปนทางการ เปนตน

                            2.3  ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษที่ใชในการอภิปราย ประชุมกลุมในหองเรียน การพูด

                  ทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ เปนตน
                            2.4  ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาที่ใชสนทนาทั่วๆ ไปกับคนที่ไมคุนเคยมากนัก

                  เชน ครูพูดกับผูเรียน เปนตน

                            2.5  ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับปากเปนภาษาสนทนาของครอบครัว
                  ในหมูเพื่อนสนิท หรือญาติพี่นองพูดอยูในวงจํากัด
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224