Page 141 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 141

132


               3.  นักเขียนนิทาน
                        เปนเรื่องของจินตนาการ ผูเขียนจะตองมีศิลปะในการเขียนเพื่อใหความสนุกสนานปลูกฝง

               คุณธรรม คติแงคิดมุมมองตาง ๆ แกผูอาน
                       องคประกอบของนิทาน

                       1.  แนวคิด  แกนสาร หรือสาระที่จุดประกายใหเกิดเรื่องราว เชน แมกระตายผูรักลูกสุดหัวใจ

               ยอมสละชีวิตตัวเองเพื่อแลกกับลูก  หรือลูกสี่คนคิดปลูกฟกทองยักษใหแม หรือลูกไก 7 ตัวที่ยอมตาย
               ตามแม  หรือโจรใจรายชอบทํารายผูหญิงวันหนึ่งกลับทํารายแมตัวเองโดยไมตั้งใจ หรือลูกหมูสามตัว

               ไมเชื่อแมทําใหเปนเหยื่อของหมาปา

                       2. โครงเรื่องของนิทาน  โครงเรื่องและเนื้อหาตองไมซับซอน สั้น ๆ กระทัดรัด เปนลักษณะ
               เรื่องเลาธรรมดา มีการลําดับเหตุการณกอนหลัง

                       3. ตัวละคร  ขึ้นอยูกับจินตนาการของผูเขียน เชน คน สัตว เทพเจา แมมด เจาชาย นางฟา

               แตไมควรมีตัวละครมากเกินไป
                       4. ฉาก  สถานที่เกิดเหตุ เชน ในปา กระทอมราง ปราสาท บนสวรรค แลวแตความคิดสรางสรรค

               ของผูเขียน
                       5. บทสนทนา การพูดคุยของตัวละคร  ควรใชภาษาที่เขาใจงาย กระชับ  สนุกสนาน ไมใช

               คําหยาบ

                       6. คติสอนใจ  เมื่อจบนิทาน ผูอานควรไดแงคิด คติสอนใจเพื่อเปนการปลูกฝงคุณธรรมกลอมเกลา
               จิตใจ

                       สรุป  การที่จะเปนนักเขียน หรือนักพูดประเภทใด ๆ ก็ตาม หัวใจสําคัญของนักเขียน หรือนักพูด
               ก็คือ ความรูที่นักเขียน หรือนักพูดไดถายทอดใหกับผูฟง หรือผูอาน (ผูรับสาร) ไดเขาใจในประเด็น หรือสิ่ง

               ที่ไดนําเสนอ


               เรื่องที่ 3 การเพิ่มพูนความรูและประสบการณทางดานภาษาไทย เพื่อการประกอบอาชีพ

                       จากการนําเสนอแนวทางของการนําความรูภาษาไทยไปเปนชองทางในการประกอบอาชีพประเภท

               ตาง ๆ เชน การพูด การเปนพิธีกร ผูประกาศ นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน ครูสอนภาษาไทยกับประชาชน
               อาเซียน การเขียน นักเขียนขาว เขียนบทละคร เขียนนิทาน เขียนสารคดี แลวนั้น เปนเพียงจุดประกายให

               ผูเรียนไดเรียนรูวาการเรียนวิชาภาษาไทยมิใชเรียนแลวนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันเทานั้น แตการ

               เรียนรูวิชาภาษาไทยยังสามารถนําความรูประสบการณทางดานภาษาไทยไปประกอบอาชีพ สรางรายได
               ใหกับตนเองไดดวย แตการที่ผูเรียนจะเปนนักเขียน หรือนักพูดที่มีชื่อเสียง เปนที่ยอมรับของสังคม

               ผูเรียนจะตองแสวงหาความรู ทักษะ ประสบการณเพิ่มเติมจากสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน

               ที่เปนหลักสูตรเฉพาะเรื่อง หรือหากผูเรียนตองการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมในระดับการศึกษาที่สูงขึ้นก็จะ
               มีสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย เชน คณะนิเทศศาสตร คณะวารสารศาสตร ฯลฯ ไดอีกทางเลือก

               หนึ่ง หรือในขณะที่ผูเรียนกําลังศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและตองการที่จะเรียนรูวิชา
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146