Page 137 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 137

128


                        2.4    รูจักการใชภาษา นักเขียนบทจะตองเปนผูที่สามารถสรางคําตางๆ ขึ้นมาไดโดยอาศัย
               แหลงขาวสารขอมูลตาง ๆ  ฟงคําพูดของบุคคลตางๆ  ศึกษาจากการอานหนังสือ  นิตยสาร หนังสือพิมพ

               การเขาเรียนในหองเรียน ฟงวิทยุกระจายเสียง ดูโทรทัศน ภาพยนตร นอกจากนี้หนังสือจําพวก
               พจนานุกรม ศัพทานุกรม เปนสิ่งที่มีคาสําหรับนักเขียน เพราะสามารถชวยในการตรวจสอบหรือคนหา

               คําได การเขียนสําหรับสื่อประเภทวิทยุโทรทัศนมีกุญแจดอกสําคัญคือ “ความงาย” เพื่อผูรับจะไดเขาใจ

               ไดงายและเขาใจไดเร็ว
                        2.5  รูจักสื่อ  นักเขียนบทตองรูถึงการทํางานของเครื่องมือของสื่อนั้น ๆ โดยการดู เพื่อที่จะ

               เรียนรู อานจากหนังสือที่อธิบายถึงกระบวนการออกอากาศ หรือเยี่ยมชมและสังเกตการเสนอรายการตาง ๆ

               อบรมระยะสั้น ๆ กับมหาวิทยาลัยตาง ๆ หรือศึกษาดูงาน เปนตน
                        2.6  มีความเพียร อาชีพนักเขียนตองมีความมานะอดทน มีความเพียรพยายามที่จะทําใหได

               และอาจจะตองเขียนบทจํานวนมากกวาจะมีคนยอมรับสักเรื่อง

                       แหลงขอมูลสําหรับการเขียนบทวิทยุโทรทัศน
                        1.  หนังสือพิมพ  นักเขียนบทสามารถนําเนื้อหาของขาวสารตางๆ มาพัฒนาเปนโครงสรางของ

               บทไดอยางดี แมกระทั่งขาวซุบซิบ ขาวสังคมในหนังสือพิมพ ก็สามารถนํามาพัฒนาบุคลิกของตัวละคร
               แตละตัวในเรื่องที่เขียนได

                        2.  นิตยสาร  เรื่องราวตาง ๆ ในนิตยสารแตละประเภทเปนขอมูลที่ดีเยี่ยมสําหรับนักเขียนบท

               ในดานขอมูล ขอเท็จจริง ตลอดจนการสืบเสาะไปสูแหลงขอมูลเบื้องตนไดอยางดี ปจจุบันนิตยสารมีหลาย
               ประเภทและแยกแยะ เนนผูอานที่สนใจเฉพาะเรื่องนั้น ๆ ยิ่งทําใหนักเขียนบทแสวงหาขอมูลที่เจาะจงได

               งายขึ้น
                        3.  รายงานการวิจัย  ในการเขียนบทบางครั้งผลงานวิจัยเขามามีบทบาทสําคัญในการประกอบ

               การเขียนบท สถานีวิทยุโทรทัศนบางแหง หรือบริษัทผลิตรายการวิทยุโทรทัศน จะมีแผนกวิจัยไว โดยเฉพาะ

               เพื่อทําหนาที่วิจัยหาขอมูลมาประกอบการเขียนบท
                        4.    หองสมุด  นักเขียนบทบางทานทํางานอยูในสถานีที่ไมมีแผนกวิจัย จึงตองหาขอมูลจาก

               หองสมุดที่มีอยูในทองถิ่น ซึ่งเปนแหลงขอมูลที่ดีอีกแหงหนึ่งของนักเขียนบทวิทยุโทรทัศน

                        5.  หนวยงานราชการ  เมื่อไดรับมอบหมายใหเขียนบทใหกับหนวยงานราชการตาง ๆ นักเขียน
               บทจะแสวงหาขอมูลเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ จากหนวยงานที่เกี่ยวของโดยตรง เชน เขียนเรื่องเกี่ยวกับปาไม

               ก็แสวงหาขอมูลจากกรมปาไม เปนตน
                        นอกจากขอมูลจากแหลงใหญ ๆ ทั้ง 5 แหลงแลว นักเขียนบทสามารถหาขอมูลไดดวยตนเอง

               จากการคุยกับเพื่อน ๆ ในวงวิชาชีพตาง ๆ จากการไปอยูในสถานที่นั้น ๆ ไปไดพบไดเห็นไดยินมาดวย

               ตนเอง นักเขียนบทสามารถบันทึกไวในคลังสมองของตนเอง แลวนํามาใชไดทันทีเมื่อตองการ
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142