Page 139 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 139

130


               เทานั้น บทดังกลาวใชกับรายการประเภทรายการ เพื่อการศึกษา รายการปกิณกะและรายการที่ผูพูด
               ผูสนทนา หรือผูบรรยายพูดเองเปนสวนใหญ ไมมีระบุในบท

                        สิ่งสําคัญของบทวิทยุโทรทัศนแบบกึ่งสมบูรณ คือ ตองระบุคําสุดทายของคําพูดประโยคสุดทาย
               ที่จะใหเปนสัญญาณบอกผูกํากับรายการวา เมื่อจบประโยคนี้จะตัดภาพไปยังภาพยนตร สไลด หรือภาพนิ่ง

               ซึ่งใชประกอบในรายการ หรือตัดภาพไปยังโฆษณา หรือตัดภาพไปฉากอื่น

                        2.3    บทวิทยุโทรทัศนบอกเฉพาะรูปแบบ จะเขียนเฉพาะคําสั่งของสวนตาง ๆ ที่สําคัญใน
               รายการ ฉากสําคัญ ๆ ลําดับรายการที่สําคัญ ๆ บอกเวลาของรายการแตละตอน เวลาดําเนินรายการ

               บทโทรทัศนแบบนี้ มักจะใชกับรายการประจําสถานี อาทิ รายการสนทนา รายการปกิณกะ รายการ

               อภิปราย
                        2.4    บทวิทยุโทรทัศนอยางคราว ๆ บทประเภทนี้จะเขียนเฉพาะสิ่งที่จะออกทางหนาคําสั่ง

               ทางดานภาพและดานเสียง โดยทั่วไปแลวผูกํากับรายการจะตองนําบทอยางคราว ๆ นี้ไปเขียน

               กลองโทรทัศนเทานั้นและบอกคําพูดที่จะพูดประกอบสิ่งที่ออกหนากลองไวอยางคราว ๆ ไมมีตบแตง
               ใหม  ใหเขาอยูในรูปของบทวิทยุโทรทัศนเฉพาะรูปแบบเสียกอน เพื่อใหผูรวมงานทั้งหมดไดรูวาควรจะ

               ทํางานตามขั้นตอนอยางไร
                       หลักการเขียนบทวิทยุโทรทัศน

                        การเขียนบทวิทยุโทรทัศนควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้

                        1.  เขียนโดยใชสํานวนสนทนาที่ใชสําหรับการพูดคุย มิใชเขียนในแบบของหนังสือวิชาการ
                        2.  เขียนโดยเนนภาพใหมาก รายการวิทยุโทรทัศนจะไมบรรจุคําพูดไวทุก ๆ วินาที แบบรายการ

               วิทยุกระจายเสียง
                        3.  เขียนอธิบายแสดงใหเห็นถึงสิ่งที่กําลังพูดถึง ไมเขียนและบรรยายโดยปราศจากภาพประกอบ

                        4.  เขียนเพื่อเปนแนวทางใหเกิดความสัมพันธระหวางผูชมแตละกลุม ผูซึ่งเปนเปาหมาย

               ในรายการของทาน มิใชเขียนสําหรับผูชมโทรทัศนสวนใหญ
                        5.  พยายามใชถอยคําสํานวนที่เขาใจกันในยุคนั้น ไมใชคําที่มีหลายพยางค ถามีคําเหมือน ๆ กัน

               ใหเลือก ใหเลือกใชคําที่เขาใจไดงายกวา

                        6.    เขียนเรื่องที่นาสนใจและตองการเขียนจริง ๆ ไมพยายามเขียนเรื่อง ซึ่งนาเบื่อหนาย
               เพราะความนาเบื่อจะปรากฏบนจอโทรทัศน

                        7.  เขียนโดยพัฒนารูปแบบการเขียนของตนเอง ไมลอกเลียนแบบการเขียนของคนอื่น
                        8.   คนควาวัตถุดิบตาง ๆ เพื่อจะนํามาใชสนับสนุนเนื้อหาในบทอยางถูกตองไมเดาเอาเอง

               โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีขอเท็จจริงเขาไปเกี่ยวของ

                        9.  เขียนบทเริ่มตน ใหนาสนใจและกระตุนใหผูชมอยากชมตอไป
                        10. เขียนโดยเลือกใชอารมณแสดงออกในปจจุบัน ไมเปนคนลาสมัย

                        11. ไมเขียนเพื่อรวมจุดสนใจทั้งหมดไวในฉากเล็ก ๆ ในหองที่มีแสงไฟสลัว ผูชมตองการมากกวานั้น
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144