Page 140 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 140

131


                        12. ใชเทคนิคประกอบพอควร ไมใชเทคนิคประกอบมากเกินไปจนเปนสาเหตุใหสูญเสียภาพ
               ที่เปนสวนสําคัญที่ตองการใหผูชมไดเขาใจไดเห็น

                        13.  ใหความเชื่อถือผูกํากับรายการวาสามารถแปลและสรางสรรคภาพไดตามคําอธิบายและ
               คําแนะนําของผูเขียน ผูกํากับจะตัดทอนบทใหเขากับเวลาที่ออกอากาศ และไมตองแปลกใจ ถาบรรทัด

               แรก ๆ ของบทถูกตัดออก หรืออาจผิดไปจากชวงตน ๆ ที่เขียนไว ตองใหความเชื่อถือผูกํากับรายการและ

               ไมพยายามจะเปนผูกํากับรายการเสียเอง
                        14. ไมลืมวาผูกํากับจะแปลความเราใจของผูเขียนบทออกมาไดจากคําอธิบายและคําแนะนําที่

               ผูเขียนเขียนเอาไวในบท

                        15.  ผูเขียนบทตองแจงใหทราบถึงอุปกรณที่ตองใชเปนพิเศษ ซึ่งจําเปนและอาจหาไดยาก
               เวลาเขียนควรคํานึงดวยวาอุปกรณที่ใชประกอบนั้นเปนอุปกรณซึ่งไมสิ้นเปลืองคาใชจายมากจนเกินไป

               และอุปกรณนั้นตองหาได

                        ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุโทรทัศน
                        การเขียนบทวิทยุโทรทัศนมีขั้นตอนงาย ๆ 3 ขั้น ไดแก การกําหนดวัตถุประสงคและกลุมเปาหมาย

               การกําหนดระยะเวลาและรูปแบบของรายการ และการกําหนดหัวขอเรื่อง ขอบขายเนื้อหา คนควา และลง
               มือเขียน

                        1.  กําหนดวัตถุประสงคและกลุมเปาหมาย

                           สิ่งแรกที่ควรคํานึงกอนลงมือเขียน คือ วัตถุประสงคของการเขียน วาเขียนเพื่ออะไร
               เขียนเพื่อใคร ตองกําหนดใหแนนอนวา  ผูเขียนตองการใหรายการที่กําหนดใหอะไรแกผูชม เชน ใหความรู

               ใหความบันเทิง ปลูกฝงความสํานึกที่ดีงาม เปนตน จากนั้นจึงดูกลุมเปาหมาย วาผูเขียนตองการผูชมเพศใด
               อยูในชวงอายุ การศึกษา สถานภาพทางสังคม สถานภาพทางเศรษฐกิจแบบใด เปนตน

                        2.  การกําหนดระยะเวลาและรูปแบบของรายการ

                           ผูเขียนตองรูวาเวลาในรายการมีระยะเวลาเทาไร เพื่อจะไดกําหนดรูปแบบของรายการ
               ใหเหมาะสมกับระยะเวลาของรายการ รูปแบบของรายการสามารถจัดแบงออกไดหลายแบบ ไดแก

               รายการขาว รายการพูดกับผูชม รายการสัมภาษณ รายการสนทนา รายการตอบปญหา รายการแขงขัน

               รายการอภิปราย เกม รายการสารคดี รายการปกิณกะ รายการดนตรีและละคร
                        3.  การกําหนดหัวขอเรื่อง ขอบขายเนื้อหา คนควาและลงมือเขียน

                           เมื่อทราบเงื่อนไขตาง ๆ ดังที่กลาวมาในตอนตนแลว จะทําใหผูเขียนกําหนดหัวขอเรื่องและ
               ขอบขายเนื้อหาไดงายขึ้น จากนั้นจึงเริ่มคนควาเพิ่มเติมเพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองที่สุดแลวจึงลงมือ

               เขียน โดยคํานึงถึงขอควรคํานึงหลักการเขียนบทวิทยุโทรทัศน 15 ขอที่กลาวมาแลวขางตน หลังจากนั้น

               ควรตรวจสอบขอเท็จจริง สํานวนและเขียนอีกเพื่อพัฒนาบท แกไขปรับบทวิทยุโทรทัศนเพื่อใหไดบทวิทยุ
               โทรทัศนที่ดีที่สุด
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145