Page 12 - โครงการการจัดการเอกสาร
P. 12
6
2. หนังสือภำยใน คือ หนังสือติดต่อระหว่างกระทรวง
ทบวงกรมเดียวกัน หรือภายในจังหวัดเดียวกัน
3. หนังสือประทับตรำ ส่วนราชการท าขึ้นโดยการ
ประทับตราของหัวหน้าส่วนราชการนั้นๆ โดยมีต้องลงชื่อ
4. หนังสือสั่งกำร ได้แก่ ค าสั่งต่างๆ ระเบียบและข้อบังคับ
ที่ส่วนราชการนั้นออกใช้บังคับ
5. หนังสือประชำสัมพันธ์ ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์
และข่าว ที่ต้องการให้ผู้อื่นรู้ทั่วๆ ไป
6. หนังสือที่เจ้ำหน้ำที่ท่ำหรือรับไว้เป็นหลักฐำนใน
รำชกำร เช่น หนังสือรับรอง รายงานการประชุม บันทึกต่างๆ หรือ
หนังสืออื่น ๆ ที่ส่วนราชการจัดท าขึ้นนอกเหนือจากที่กล่าวแล้ว
อย่างไรก็ตาม การจะแบ่งเอกสารทั้งหลายทั้งปวงตามหลักการปฏิบัติ
แล้ว หลักใหญ่ ๆ ก็อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
1. หนังสือเข้า (เอกสารภายนอก)
2. หนังสือออก (เอกสารที่หน่วยงานท าขึ้นส่งไปจาก
ภายนอก)
3. หนังสือติดต่อภายใน
หนังสือเข้ำ เมื่อได้รับหนังสือเข้า ผู้มีหน้าที่ จะต้องเปิด
ของและประทับตราลงเวลารับไว้มุมบนด้านขวาของหนังสือ
ต่อจากนั้นจะต้องส่งเอกสารนั้นไปให้ผู้ที่จะปฏิบัติต่อไป เมื่อปฏิบัติ
เสร็จแล้วให้ผู้ปฏิบัติงานนั้นตอบเอกสารนั้น