Page 169 - โครงการการจัดการเอกสาร
P. 169

157



                          อย่างไรก็ตามถ้าไม่มีเครื่องช่วยแยกเอกสาร อาจจะท าการ

            แยกโดยแบ่งกลุ่มเอกสารเป็นกอง ๆ หรือพวกตามตัวอักษร เช่น กอง A


            8. C-H, 1-0. P-R ฯลฯ เอกสารแต่ละกองหรือแต่ละพวกจะถูกจัดเรียง

            อีกครั้งหนึ่งตามล าดับตัวอักษรจนหมดทุกกอง การน าเข้าเก็บกิจะไม่


            สับสนวุ่นวายและไม่ผิดพลาดได้ง่าย


            6. กำรน ำเข้ำเก็บ เป็นขั้นตอนสุดท้ายต่อจากการแยกประเภทเอกสาร

            กล่าวคือ ภายหลังเมื่อแยกประเภทเอกสารอย่างถูกต้องแล้ว พนักงาน


            เก็บเอกสารจะต้องน าเอกสารเข้าเก็บอย่างถูกวิธีจึงจะท าให้การเก็บ


            เอกสารรวดเร็ว ไม่ผิดพลาดและมีประสิทธิภาพในการค้นหาต่อไป





            การน าเอกสารเข้าเก็บ มีขั้นตอนในการด าเนินการเพื่อความถูกต้อง

            รวดเร็วและแม่นย่าดังนี้


                          1) มองป้ายฉลากชื่อสิ้นชักผู้เก็บเอกสาร ข้างหน้าสิ้นชักจะมี


            ฉลากบอกตัวอักษรไว้ให้ทราบว่าเอกสารในสิ้นชักนั้นมีตัวอักษรไตถึง

            ตัวอักษรใด เช่น A-B, C-H หรือ R-T เป็นต้น


                          2) ดูบัตรน าในสิ้นชัก เมื่อเปิดสิ้นชักออกมาแล้วให้ดูบัตรน า

            หลักก่อน เพราะบัตรน้ าหลักจะเป็นบัตรที่แบ่งตัวอักษรและน าตัวอักษร


            ให้ทราบว่าหลังบัตรน าหลักนั้นจะมีแฟ้มเก็บเอกสารที่ขึ้นต้นด้วย


            ตัวอักษรอะไรบ้าง

                          3) ดูชื่อแฟ้มเฉพาะและแฟ้มพิเศษ ว่ามีชื่อตรงกับเอกสารที่


            จะเก็บหรือไม่ ถ้ามีชื่อตรงกันก็น าเอกสารใส่แฟ้มนั้นๆ แต่ถ้าไม่มีชื่อแฟ้ม

            ตรงกันกับเอกสารที่น่าเข้าเก็บ ก็ให้มองแฟ้มเบ็ดเตล็ดต่อไป


            4) ดูแฟ้มเบ็ดเดลิดในช่องอักษรของบัตรน าหลัก สมมติว่า บัตรน าหลัก


            A แฟ้มเบ็ดเตลิด A มักจะเรียงได้หลังแฟ้มเฉพาะในช่องลักษรเดียวกัน
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174