Page 25 - test ebook1
P. 25

ภายหลัง  จนคลองเปียะเป็นชุมชนที่มีกลุ่มออมทรัพย์ใหญ่สุดของประเทศ และนาหว้าเข้าสู่ชุมชน

                       สวัสดิการ
                              การเรียนรู้ของชุมชนไม่ได้สิ้นสุดที่การเริ่มต้นอย่างการเรียนในระบบการศึกษาในปัจจุบัน

                       ตรงกันข้ามการเรียนรู้จะก่อให้เกิดการวิพากษ์ ซึ่งอาจวิพากษ์แนวคิดและระบบทั้งหมดหรือ

                       เพียงบางส่วน   การวิพากษ์นี้เองที่ท าให้เกิดความเคลื่อนไหว เกิดการปรับเปลี่ยน เกิดการเชื่อมโยง
                       จากกิจกรรมหนึ่งไปสู่กิจกรรมอื่นอย่างไม่จบสิ้น ทั้งหมดนี้เป็่ นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน


                       กรณีศึกษา  กระบวนการเรียนรู้ของชุมชน

                              ชุมชนน ้าขาว อ าเภอจะนะ  จังหวัดสงขลา ผู้ริเริ่มการออมทรัพย์เพื่อสวัสดิการ เริ่มต้นจาก

                       ผู้น าชุมชนตั้งค าถามต่อระบบสวัสดิการของรัฐในขณะนั้ น  ท าไมชาวบ้านที่ยากจน
                       เบิกค่ารักษาพยาบาลจากรัฐไม่ได้ยามเจ็บป่วย (เพราะไม่ใช่ข้าราชการ) ท าอย่างไรให้คนเหล่านี้

                       เบิกค่ารักษาพยาบาลและมีสวัสดิการยามเจ็บป่ วย (ต้องสร้างระบบสวัสดิการของชุมชน)

                       การตั้งค าถามและหาค าตอบแบบนี้น าไปสู่กลุ่มสัจจะออมทรัพย์แบบพัฒนาครบวงจรชีวิต
                       ของชุมชนต่าง ๆ ในต าบลน ้าขาว  เมื่อเกิดกิจกรรมนี้แล้ว ค าถามหรือการวิพากษ์อื่นๆ  ก็จะตามมา

                       เช่น สวัสดิการที่จัดให้ควรเป็นอย่างไร (เกิดระบบจัดการสวัสดิการในชุมชน) นอกจากรายได้

                       จากก าไรของกลุ่มออมทรัพย์แล้วทางเลือกอื่นเป็นอย่างไร(เกิดร้านค้าชุมชน) การเคลื่อนไหว

                       การเกิดกิจกรรมต่อเนื่องที่จะตามมาเป็นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนน ้าขาว เช่นเดียวกับ
                       ชุมชนอื่น ๆ   ที่กระบวนการเรียนรู้เกิดจากการวิพากษ์ในลักษณะตั้งค าถาม หาค าตอบ ลงมือปฏิบัติ

                              ชุมชนไม้เรียงเรียนรู้ยางพาราจากโรงงานยางแผ่นผึ่งแห้ง ในช่วง 10 ปีแรกดูเหมือนว่า

                       อนาคตชาวสวนยางจะสดใส  แต่ภาวะราคายางที่ผันผวนในช่วงหลัง ซึ่งเป็นผลจากระบบตลาดและ

                       การผูกขาดระดับชาติและระดับโลก  ชุมชนไม้เรียงจึงตั้งค าถามใหม่อีกครั้ง เริ่มวิพากษ์ใหม่ผ่านทาง
                       แผนแม่บทยางพาราไทย ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ ตั้งค าถาม  และเสนอทางออกต่อรัฐบาลในขณะนั้น

                       เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างของตลาดและการจัดการใหม่  แม้ว่าไม่ได้รับการตอบสนองจากรัฐ แต่ชุมชน

                       ได้สรุปบทเรียนและตั้งค าถามใหม่ เมื่อไม่อาจพึ่งพายางพาราเพียงอย่างเดียวได้อีกต่อไป  มีแนวทาง
                       ใดที่จะท าให้อยู่รอดได้ในสังคมปัจจุบัน  ค าถามนี้ท าให้ชุมชนไม้เรียงต้องแสวงหาค าตอบ

                       และเรียนรู้ภายใต้ปรัชญาใหม่ คือเรียนในสิ่งที่ต้องรู้ และเรียนในสิ่งที่ควรรู้ ซึ่งมีวิธีการหรือ

                       การจัดการและเครื่องมือเรียนรู้ที่ซับซ้อนกว่าเดิม
                              ก่อนหน้านี้ชุมชนไม้เรียง ตั้งค าถามและแสวงหาค าตอบต่อระบบและกลไกตลาดของ

                       ยางพาราไทย การวิพากษ์ยุคปัจจุบันเริ่มจากการตั้งค าถามและแสวงหาค ารอบต่อระบบทุนสินเชื่อ

                       เพื่อการเกษตรสุขภาพ ระบบเกษตรกรรมแบบพืชเดี่ยว และตลาดสินค้าอุปโภคและบริโภค การ
                       แสวงหาค าตอบเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องใช้วิธีการและเครื่องมือเรียนรู้ใหม่ นี่คือจุดเริ่มต้นของ

                       กระบวนการเรียนรู้เพื่อจัดท าแผนแม่บทชุมชนไม้เรียง






                       องค์กรชุมชนและเครือข่ายชุมชน                                                     20
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30