Page 35 - Education 4.0 : ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
P. 35
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ 27
กับแนวคิดและการขับเคลื่อนการศึกษา 4.0
รองศาสตราจารย ดร.ศิริเดช สุชีวะ
คณบดีคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ไดกลาวตอนรับวิทยากรและผูเขารวมงานเสวนา
พรอมกับปาฐกถานําการเสวนาในประเด็น “การวิจัย
ยุคการศึกษา 4.0 มีใจความสําคัญ ดังนี้
หากพูดถึงความรูชายแดนทางการศึกษา
มักปรากฏอยูที่งานวิจัยทางการศึกษา ซึ่งเราอาจจะ
มองไดวาวิจัยทางการศึกษาก็มี 4 ยุคเหมือนกัน
ในยุคแรกๆ ของการวิจัยทางการศึกษา คือการวิจัย
ที่มุงจะเปนการบรรยาย สภาพของปรากฏการณ
เนื้อเรื่องของงาน Survey และงานวิจัยเชิงบรรยาย
หรือพรรณนา (Descriptive research) ซึ่งสิ่งที่ได
ก็จะเปนความรูเกี่ยวกับปรากฏการณนั้น หรือ สภาพ ขนาด และความรุนแรงของปญหา
ที่เกิดขึ้นของแตละเรื่อง ซึ่งการใชงานในองคความรูในระดับนี้ก็ถือวาใชงานไดระดับหนึ่ง
ที่จะชวยทําใหเราเขาใจปรากฏการณมากยิ่งขึ้น
มาถึงยุคที่ 2 ของความนิยมของการทําวิจัย เราเคลื่อนเขามาสูการวิจัยที่จะ
อธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปร ภายใตปรากฏการณนั้น โดยงานวิจัยจะเนนรูปแบบ
ของ การวิจัยกึ่งทดลอง Quasi Experimental Research หรือ การวิจัยเชิงทดลอง
(Experimental research) ซึ่งเปนงานวิจัยที่แสดงความสัมพันธของชุดตัวแปร
หนึ่งที่สงผลตอชุดตัวแปรอีกชุดหนึ่ง
ในยุคที่ 3 ซึ่งหมายถึงปจจุบันนี้ งานวิจัยทางการศึกษาจํานวนมากพยายาม
ที่จะโยนโจทยของวิจัยไปสูโจทยของสังคมจริง ๆ วาตอนนี้สังคมตองการคําตอบเรื่องอะไร
โดยเฉพาะสังคมทางการศึกษา แตทวาคําตอบที่ไดมาจากการวิจัยทางการศึกษาในยุคนี้
เปนคําตอบที่คอนขางกวาง งานวิจัยจํานวนมากพยายามที่จะกําหนดแบบจําลองหรือโมเดลตาง
ๆ เพื่อจัดการกับปญหานั้น ๆ แตสวนมากคําตอบที่ไดมักจะอยูในรูปของ Generic Model
ที่ใชไดกวาง ๆ และสวนมากพบวาใชไมคอยไดผลเทาที่ควร
จนมาถึงยุคสุดท้ายนี้ (ยุคที่ 4) งานวิจัยทางการศึกษาคงตองเปลี่ยนโฉมใหเปน
งานวิจัยที่ตอบโจทยไดตรงประเด็น และคําตอบของงานวิจัยนั้นมันตองเปน Innovation
ที่หมายถึง วิธีการแกปญหาที่ไดผล ซึ่งอาจจะอยูในรูปของเครื่องมือ กระบวนการ หรือ