Page 201 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 201

คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง   ๑๗๓


                                        “อนุญาตให้...  เสนอบันทึกถ้อยค าแทนการซักถามพยาน  โดยให้ส่ง

                  บันทึกถ้อยค าต่อศาลพร้อมส่งส าเนาให้คู่ความอีกฝ่ายทราบก่อนวันสืบพยานปากนั้นๆ ไม่น้อย

                  กว่า ๗ วัน”

                                ข้อสังเกต

                                การส่งส าเนาบันทึกถ้อยค าให้คู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง เป็นหน้าที่ของคู่ความซึ่งอ้าง

                  พยานบุคคลที่บันทึกถ้อยค า โดยใช้วิธีการส่งตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๗๒ วรรคสาม


                                ทั้งนี้  หากศาลเห็นว่าการให้พยานเสนอบันทึกถ้อยค าจะเป็นประโยชน์แก่การ

                  พิจารณาแม้ไม่มีผู้ใดยื่นค าร้องขอเสนอบันทึกถ้อยค า ศาลอาจให้ค าแนะน าแก่คู่ความ ถ้าคู่ความ

                  เห็นพ้องด้วย  ก็ให้จดรายงานกระบวนพิจารณาว่า

                                “คู่ความประสงค์จะยื่นบันทึกถ้อยค าแทนการซักถามพยาน ให้ส่งบันทึกถ้อยค า

                  ต่อศาลพร้อมส่งส าเนาให้คู่ความอีกฝ่ายทราบก่อนวันสืบพยานปากนั้น ๆไม่น้อยกว่า ๗ วัน”

                                เมื่อผู้ขอยื่นค าร้องหรือค าแถลงส่งบันทึกถ้อยค าและบันทึกถ้อยค าต่อศาลภายใน

                  เวลาที่ก าหนด  ให้สั่งในค าร้องหรือค าแถลงว่า

                                “รับบันทึกถ้อยค า  แยกเก็บ  น ารวมส านวนเมื่อสืบพยาน”


                  พยานผู้ท าบันทึกถ้อยค าต้องมาศาลเพื่อตอบค าถามค้านและค าถามติง


                         เมื่อผู้ให้ถ้อยค ามาศาล หลังจากพยานสาบานหรือปฏิญาณตนและตอบศาลเกี่ยวกับข้อมูล

                  ของพยานเช่นเดียวกับการบันทึกค าให้การพยานทั่วไปแล้ว  ต้องให้ผู้ให้ถ้อยค ารับรองความ

                  ถูกต้องแท้จริงของข้อความในบันทึกถ้อยค า จึงจะถือว่าบันทึกถ้อยค าเป็นส่วนหนึ่งของค าเบิกความ

                  ตอบค าซักถามของผู้ขอ ให้ศาลบันทึกในตอนต้นของค าให้การพยานว่า

                         “พยานเบิกความต่อจากบันทึกถ้อยค าฉบับวันที่..... ซึ่งพยานรับรองแล้ว

                         ตอบทนาย.....ถามค้าน”

                         หลังจากพยานเบิกความเสร็จสั่งในบันทึกถ้อยค าของพยานว่า

                         “รับเป็นบันทึกถ้อยค าของ (ชื่อ – นามสกุลของพยาน) รวมส านวนไว้กับบันทึกค าให้การ

                  พยาน”

                         ข้อสังเกต

                         ๑.  ก่อนสืบพยานที่ท าบันทึกถ้อยค า  ศาลควรศึกษาข้อความในบันทึกถ้อยค านั้นล่วงหน้า

                  เพื่อให้สามารถเข้าใจข้อเท็จจริงที่จะมีการซักถามเพิ่มเติมหรือถามค้าน และทราบว่าข้อซักถาม

                  เพิ่มเติมหรือถามค้านนั้น  พยานได้ให้ข้อเท็จจริงไว้ในบันทึกถ้อยค าแล้วหรือไม่ อย่างไร
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206