Page 429 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 429

คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง   ๔๐๑


                            ๖.๑  ถ้ายื่นภายในก าหนด  สั่งว่า  “รับค าแก้อุทธรณ์  ส าเนาให้อีกฝ่าย  รวบรวมถ้อยค าส านวน

                  ส่งศาลอุทธรณ์”

                            ๖.๒  ถ้ายื่นเมื่อพ้นก าหนด  สั่งว่า “ . . . (จ าเลยอุทธรณ์)  รับส าเนาอุทธรณ์วันที่ . . . ยื่นค าแก้

                  อุทธรณ์พ้นก าหนด ๑๕ วัน จึงไม่รับค าแก้อุทธรณ์ แต่ให้รับเป็นค าแถลงการณ์  ส าเนาให้อีกฝ่าย

                  รวบรวมถ้อยค าส านวนส่งศาลอุทธรณ์”

                            ๖.๓  กรณีที่จ าเลยอุทธรณ์มิได้แก้อุทธรณ์ภายในก าหนด  และเจ้าหน้าที่รายงานว่า

                  พ้นก าหนดแล้ว ไม่มีค าแก้อุทธรณ์  สั่งว่า  “รวบรวมถ้อยค าส านวนส่งศาลอุทธรณ์”



                  ๗. การแก้ไขค าแก้อุทธรณ์

                            มีหลักการเช่นเดียวกับค าร้องขอแก้ไขค าฟ้องอุทธรณ์  กล่าวคือ  จะต้องยื่นภายในก าหนด

                  ระยะเวลายื่นค าแก้อุทธรณ์ตามมาตรา ๒๓๗ โดยสั่งว่า “ส าเนาให้อีกฝ่าย  รวบรวมถ้อยค าส านวน

                  ส่งศาลอุทธรณ์”   หากยื่นเกินก าหนดศาลจะสั่งรับไว้เป็นค าแก้อุทธรณ์ไม่ได้  แต่อาจรับไว้เป็น

                  ค าแถลงการณ์ได้(ฎีกาที่ ๑๑๙๘/๒๔๙๒, ๕๙/๒๕๑๓)



                  ๘. การถอนฟ้องอุทธรณ์

                        ป.วิ.พ. มิได้บัญญัติเรื่องถอนอุทธรณ์ไว้ แต่ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๖ ให้น าการพิจารณา

                  และชี้ขาดตัดสินคดีในศาลชั้นต้นมาใช้โดยอนุโลม ในการถอนอุทธรณ์จึงต้องน า ป.วิ.พ. มาตรา

                  ๑๗๕ มาบังคับใช้ โดยศาลอุทธรณ์จะต้องถามจ าเลยหรือผู้ร้องสอดก่อนถ้าหากมี และการขอ

                  ถอนอุทธรณ์เป็นการใช้สิทธิตามกฎหมาย ไม่ถือเป็นการด าเนินกระบวนพิจารณาโดยไม่สุจริต


                  (ฎีกาที่ ๓๙๑๕/๒๕๓๔)

                                ข้อสังเกต

                                ๑.  ศาลชั้นต้นไม่มีอ านาจอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ถอนฟ้องอุทธรณ์

                                ๒. การอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์หรือไม่ เป็นดุลพินิจของศาลอุทธรณ์ (ฎีกาที่

                  ๒๑๓๒-๒๑๓๕/๒๕๓๘)


                            ๘.๑  ก่อนส่งส าเนาอุทธรณ์ให้อีกฝ่าย  ผู้อุทธรณ์ท าเป็นค าบอกกล่าว (ค าแถลง) ขอถอน

                  ฟ้องอุทธรณ์  สั่งว่า  “รวบรวมถ้อยค าส านวนส่งศาลอุทธรณ์” ไม่ต้องส่งส าเนาให้อีกฝ่าย


                            ๘.๒  เมื่อส่งส าเนาอุทธรณ์ให้อีกฝ่ายแล้ว  ผู้อุทธรณ์ต้องท าเป็นค าร้อง สั่งว่า  “ส าเนา

                  ให้อีกฝ่าย  จะคัดค้านประการใดให้ยื่นค าแถลงภายใน . . . วัน    นับแต่วันได้รับส าเนาค าร้อง

                  มิฉะนั้นถือว่าไม่คัดค้าน  ให้ผู้อุทธรณ์น าส่งโดยให้วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าภายในวันท าการ
   424   425   426   427   428   429   430   431   432   433   434