Page 425 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 425
คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๗
๒.๔ หากผู้อุทธรณ์ไม่น าส่งส าเนาภายในเวลาที่ศาลก าหนดย่อมเป็นการทิ้งฟ้องอุทธรณ์
เมื่อมีรายงานเจ้าหน้าที่ สั่งว่า “ให้ส่งถ้อยค าส านวนไปยังศาลอุทธรณ์” เพื่อให้ศาลอุทธรณ์
พิจารณาสั่งจ าหน่ายคดีในชั้นอุทธรณ์ ศาลชั้นต้นไม่มีอ านาจสั่งจ าหน่ายคดีในชั้นอุทธรณ์
(เทียบฎีกาที่ ๕๗๓๙/๒๕๓๙)
๓. การแก้ไขค าฟ้องอุทธรณ์
๓.๑ เนื่องจากไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไว้โดยเฉพาะในลักษณะ ๑ อุทธรณ์
จึงต้องน าบทบัญญัติในมาตรา ๑๗๙ ซึ่งเป็นบทบัญญัติเรื่องการแก้ไขค าฟ้องในศาลชั้นต้นมาใช้
บังคับโดยอนุโลมตามมาตรา ๒๔๖ (ฎีกาที่ ๘๐๙๘/๒๕๔๓) กล่าวคือ ค าร้องขอแก้ไขค าฟ้อง
อุทธรณ์ จะกระท าได้ต่อเมื่อศาลชั้นต้นสั่งรับค าฟ้องอุทธรณ์ไว้แล้ว (ฎีกาที่ ๖๖๑๑ - ๖๖๑๒/
๒๕๓๘)
ค าร้องขอแก้ไขค าฟ้องอุทธรณ์ต้องยื่นภายในก าหนดระยะเวลาอุทธรณ์ตาม
มาตรา ๒๒๙ เพราะเมื่อค าร้องขอแก้ไขค าฟ้องอุทธรณ์ก็เป็นค าฟ้องอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑ (๓) จึงอยู่ในบังคับต้องยื่นภายในก าหนดระยะเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา ๒๒๙ เช่นกัน
(ฎีกาที่ ๑๘๔๓/๒๕๕๑, ๗๑๙๘/๒๕๔๓, ๑๙๖๖/๒๕๑๕)
ในกรณีที่ศาลอนุญาตให้แก้ไขเพิ่มเติมค าฟ้องอุทธรณ์ ต้องให้โอกาสจ าเลยอุทธรณ์
ในการแก้อุทธรณ์ด้วย (เทียบค าสั่งค าร้องศาลฎีกาที่ ๒๙๔-๒๙๕/๒๕๓๒)
๓.๒ เมื่อมีการยื่นค าร้องขอแก้ไขค าฟ้องอุทธรณ์ ศาลชั้นต้นจะเป็นผู้พิจารณาสั่งค าร้อง
ดังกล่าวเช่นเดียวกับกรณีการสั่งค าฟ้องอุทธรณ์ กล่าวคือ
๓.๒.๑ หากยื่นภายในก าหนดระยะเวลาอุทธรณ์ สั่งว่า “อนุญาต ส าเนาให้จ าเลย(โจทก์)
ให้โจทก์(จ าเลย) น าส่งส าเนาค าร้องโดยให้วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าภายในวันท าการถัดไป”
๓.๒.๒ หากยื่นเกินก าหนดระยะเวลาอุทธรณ์ สั่งว่า “ค าร้องขอแก้ไขค าฟ้อง
อุทธรณ์ยื่นเมื่อพ้นก าหนด ๑ เดือน นับแต่วันอ่านค าพิพากษา(หรือค าสั่ง) จึงไม่อนุญาต
ให้ยกค าร้อง” หรืออาจสั่งรับเป็นค าแถลงการณ์ โดยสั่งว่า “ค าร้องขอแก้ไขค าฟ้องอุทธรณ์
ยื่นเมื่อพ้นก าหนด ๑ เดือน นับแต่วันอ่านค าพิพากษา (หรือค าสั่ง) จึงไม่อนุญาต แต่ให้รับเป็น
ค าแถลงการณ์ ส าเนาให้อีกฝ่าย” (เทียบค าสั่งค าร้องศาลฎีกาที่ ๙๗๑/๒๕๕๓, ๑๙๗/๒๕๕๒
และ ๕๙/๒๕๑๓)