Page 427 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 427
คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๙
๔.๓ ผู้อุทธรณ์ค าสั่งไม่รับอุทธรณ์ ไม่น าเงินค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวงมาวางศาล และน าเงิน
มาช าระตามค าพิพากษาหรือหาประกันให้ไว้ต่อศาลดังกล่าว ย่อมเป็นค าร้องอุทธรณ์ค าสั่ง
ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ศาลชั้นต้นเลือกปฏิบัติได้ ๒ ทาง คือ
๔.๓.๑ สั่งว่า “ส่งศาลอุทธรณ์เพื่อพิจารณาสั่ง” หรือ
๔.๓.๒ สั่งว่า “เป็นกรณีผู้อุทธรณ์ค าสั่งไม่รับอุทธรณ์ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๔
จึงมีค าสั่งให้ผู้อุทธรณ์น าเงินค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวงมาวางศาลและน าเงินมาช าระตามค าพิพากษา
หรือหาประกันให้ไว้ต่อศาลภายในก าหนด . . .วัน”
เมื่อครบก าหนดแล้ว หากผู้อุทธรณ์ค าสั่งไม่ปฏิบัติตามค าสั่งดังกล่าวก็ให้
สั่งว่า “ให้ส่งส านวนไปศาลอุทธรณ์เพื่อพิจารณาสั่งต่อไป” ในกรณีเช่นนี้ ศาลชั้นต้นจะสั่ง
ไม่รับอุทธรณ์ไม่ได้ และไม่ต้องส่งส าเนาอุทธรณ์ค าสั่งนั้นให้อีกฝ่ายหนึ่งหรือจะส่งให้ก็ได้
ส าหรับศาลอุทธรณ์สามารถยกค าร้องได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ปฏิบัติเสียก่อน (ฎีกาที่
๒๗๒๙/๒๕๓๕, ๑๔๑๓ - ๑๔๑๕/๒๕๓๓)
๔.๔ ถ้าผู้อุทธรณ์ค าสั่งไม่รับอุทธรณ์ ยื่นอุทธรณ์ค าสั่งเกินก าหนด ๑๕ วัน ตามมาตรา ๒๓๔
ศาลชั้นต้นจะสั่งรับหรือไม่รับอุทธรณ์ค าสั่งนี้ไม่ได้ แต่ให้จดแจ้งเหตุที่ยื่นอุทธรณ์เกินก าหนด
ดังกล่าวและสั่งให้ส่งค าร้องพร้อมส านวนไปศาลอุทธรณ์ ดังนี้ “ผู้อุทธรณ์ยื่นค าร้องอุทธรณ์
ค าสั่งที่ไม่รับอุทธรณ์เกินก าหนด ๑๕ วันตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๔ ให้ส่งส านวนไปศาลอุทธรณ์
เพื่อพิจารณาสั่ง”
๕. การรับรองให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริง
คดีที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง ย่อมอุทธรณ์ได้เมื่อมีความเห็นแย้งหรือค ารับรอง
ให้อุทธรณ์หรือได้รับอนุญาตให้อุทธรณ์เป็นหนังสือจากอธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้นหรือ อธิบดี
ผู้พิพากษาภาคผู้มีอ านาจ แล้วแต่กรณี โดยสั่งว่า
๕.๑ “ผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีท าความเห็นแย้งไว้ จึงอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงได้
รับอุทธรณ์ของโจทก์ (จ าเลย) ส าเนาให้จ าเลย (โจทก์) แก้ภายใน ๑๕ วัน ให้โจทก์ (จ าเลย) น าส่ง
หมายนัดส าเนาอุทธรณ์ โดยให้วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าภายในวันท าการถัดไป หากส่งไม่ได้
ให้โจทก์ (จ าเลย) แถลงเพื่อด าเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะนั้นถือว่าทิ้ง
อุทธรณ์”
๕.๒ “ผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีได้รับรองว่ามีเหตุอันควรอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงได้
รับอุทธรณ์ของโจทก์ (จ าเลย) ส าเนาให้จ าเลย (โจทก์) แก้ภายใน ๑๕ วัน ให้โจทก์ (จ าเลย)