Page 28 - Annal Report Ed-CMU 2019
P. 28
25
“ในวันนี้จึงไม่อยากให้เป็นครูสอนหนังสือเพียงอย่างเดียว แต่ต้องสอนครูให้เป็นผู้จัดการให้เด็กได้เรียน
นี่แหละเป็นการจุดประกายครูแนะแนวเพื่อให้เด็กได้คิดได้ทำา ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติสู่นักสร้าง (นวัตกรรม)
อย่างแท้จริง”
คุณครูแนะแนวต่างบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า จากผลการสำารวจมีจำานวนโรงเรียนที่ตอบแบบสำารวจ จำานวน
เป็นการอบรมที่ดีมาก สามารถนำาไปเผยแพร่ให้กับนักเรียนที่ 57 แห่ง จำานวนนักเรียน 300 คน นักเรียนที่จบมัธยมศึกษาปีที่ 6 ส่วน
กำาลังจะเข้าศึกษาต่อ นอกจากนี้แนวคิดในการคิดนวัตกรรมในชั้นเรียน ใหญ่ศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 70.00 ได้แก่ มหาวิทยาลัย
สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลายวิชา ควรดำาเนินการจัดอบรม เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย
แบบนี้ทุกปี เพื่อเป็นการพัฒนาครูแนะแนวให้มีการแนะแนวให้ทันต่อ ราชภัฏเชียงราย สถาบันการพลศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำาปาง
ยุคสมัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สามารถนำาความรู้ที่ได้ไปสร้างความรู้ใหม่ให้นักเรียน สร้างมุมมอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัย
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียน อาชีพใหม่ๆ ให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมี พะเยา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
อาชีพที่เหมาะกับตนเอง หัวข้อการอบรมตรงตามความต้องการ ควรจัด รองลงมาไม่ศึกษาต่อ คิดเป็นร้อยละ 17.00 เนื่องจาก มีฐานะยากจน
กิจกรรมทุกปี ต้องช่วยเหลือทางบ้านทำาการเกษตรในพื้นที่ และอันดับสุดท้ายคือ
ผลการสอบถามข้อมูลการศึกษาต่อของนักเรียน ประจำาปี พ.ศ. 2560 ต่อรัฐวิสาหกิจหรืองานราชการ คิดเป็นร้อยละ 13.00 ได้แก่ โรงเรียน
จากผลการสำารวจมีจำานวนโรงเรียนที่ตอบแบบสำารวจ จำานวน ไปรษณีย์ โรงเรียนนายสิบตำารวจ โรงเรียนนายสิบทหารบก ฯลฯ
57 แห่ง จำานวนนักเรียน 285 คน พบว่า มีนักเรียนที่จบมัธยมศึกษา ตามลำาดับ
ปีที่ 3 ส่วนใหญ่ศึกษาต่อสายสามัญ คิดเป็นร้อยละ 62.00 คือ โรงเรียน
ประจำาอำาเภอ อำาเภอเมืองเชียงใหม่ และการศึกษานอกระบบ รองลง
มาระดับสายอาชีพ คิดเป็นร้อยละ 36.00 ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่/
ลำาพูน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
อาชีวศึกษาของเอกชน วิทยาลัยการอาชีพฝาง วิทยาลัยการอาชีพจอมทอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีเอเชียพิงค์พระนคร วิทยาลัยโปลิเทคนิคล้านนา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยาการล้านนา และวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ภาคเหนือ รองลงมาศึกษาต่อสายสามัญ และมีบางส่วนไม่รับการศึกษาต่อ
คิดเป็นร้อยละ 2.00 เนื่องจากมีฐานะยากจนและมีเหตุจำาเป็นทางครอบครัว
ตามลำาดับ