Page 156 - Full paper สอฉ.3-62
P. 156

10  Terminal งอ               90    0.023          8.2 อภิปรายผล การวิจัย
              11  อื่นๆ                     14    0.004           1.  จากข้อมูลพบว่าของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการ
                         รวม               2,093  0.530              ฉีดพลาสติกที่มีอันดับสูงสุดคือ งานมีจุดดำ (Black
                                                                     dot NG) ส่งผลให้เสียเวลาในการตรวจสอบ และ
             ตารางที่ 3 ข้อมูลงานเสีย โดยการเปรียบเทียบก่อนและหลัง   เสียเวลาในการเปลี่ยนแม่พิมพ์ใหม่ซึ่งทำให้เกิด
          การปรับปรุงเดือนตุลาคม 2561-เดือนมกราคม 2562               การสูญเสียที่ไม่ควรจะเกิด ดังนั้นผู้ศึกษาจึงได้
                                                                     เลือกประเด็นนี้มาทำการแก้ไข

                                   ก่อน ปริมาณ  หลัง ปริมาณ       2.  จากการวิเคราะห์โดยใช้แผนภูมิก้างปลาในการ
                                    การผลิต     การผลิต              วิเคราะห์ความเสี่ยงของปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุ
                                    336,000     395,000
           ลำดับ     ประเภทงานเสีย                                   ของการเกิดปัญหา พบว่าสาเหตุของแผน PM ไม่
                                     หน่วย       หน่วย
                                   ของ   ร้อย  ของ   ร้อย            ชัดเจนคือเครื่องจักรและแม่พิมพ์ที่ใช้ในปัจจุบันมี
                                   เสีย   ละ   เสีย   ละ             จำนวนมาก ทำให้มีข้อมูลเยอะจากเดิมแผน PM
                 Connector                                           เป็นเอกสารขนาด A4 ซึ่งทำให้ข้อมูลไม่เพียงพอ
            1    roughness NG       0   0.000   0   0.000         3.  จาการทำ Board Visualization PM Machine
            2    Connector Burn ขาว   407  0.121  361  0.091         Molding & Dieเพื่อลดปัญหางาน NG    Black
            3    Connector 2 สี    519  0.154  492  0.125            dot และ Connector มีเศษ ผลการวิเคราะห์
            4    Connector Burn NG   32   0.010   32   0.008         พบว่าปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการเกิดปัญหา
            5    Connector Leak NG   33   0.010   26   0.007         ดังกล่าวอย่างมีนัยสำคัญคือ แผนการซ่อม
            6    Connector บาง     51   0.015   51   0.013
            7    Connector มีเศษ   375  0.112  224  0.057            บำรุงรักษาเครื่องจักรและแม่พิมพ์ไม่ชัดเจน ทำให้
            8    Black dot         908  0.270  527  0.133            Visualize ได้ยากและจากการปรับใช้พบว่ามีงาน
            9    Molding ไม่เต็ม   321  0.096  276  0.070            NG ลดลงอย่างต่อเนื่อง
            10   Terminal งอ       87   0.026   90   0.023
            11   อื่น ๆ            18   0.005   14   0.004
                    รวม           2,751  0.819  2,093  0.530
             8.3  ข้อเสนอแนะการวิจัย                       เอกสารอ้างอิง
             1. การศึกษากระบวนการผลิตและปัญหาที่เกิดขึ้นกับ   คณิต เสรีตระกูล. (2534) การปรับปรุง ระบบซ่อมบำรุง
                สายการผลิตจำเป็นต้องศึกษาการปฏิบัติงานจริงของ  เพื่อเพิ่มผลผลิต ของอุตสาหกรรมทูน่ากระป๋อง ที่มา:
                บริษัทกรณีศึกษาเท่านั้น จึงทำให้เกิดข้อจำกัดในเรื่องการ  http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/34073
                ควบคุมปัจจัยของเครื่องจักรบางชนิด เนื่องจากต้องใช้
                ระยะเวลาในการศึกษาเป็นเวลานาน ดังนั้น ข้อมูลจาก  บริษัท ซี.ซี.ที กรู๊ป (1997) จำกัด. เครื่องฉีดพลาสติก.
                การทำงานวิจัยครั้งนี้จึงถือเป็นขั้นแรกของการวิจัย ทีมา: https://www.cctgroup.co.th (วันที่สืบค้นข้อมูล: 15
                ทางด้านนี้ ดังนั้น ควรมีการศึกษาปัจจัยด้านอื่น ๆ ด้วย พฤษภาคม 2561).
                เพื่อให้ผลวิจัยมีความสมบูรณ์และเป็นแนวทางในปรับปรุง
                ต่อไป                                         ธีทัต ตรีศิริโชติ (2557) การศึกษางาน
             2. การศึกษานี้เป็นการศึกษาข้อมูลระยะรอบของการล้าง  ที่มา:https://www.slideshare.net

                แม่พิมพ์และบำรุงรักษาเครื่องจักรเชิงป้องกันที่เหมาะสม   พรฉัตรชัย สังขรัตน์ (2543) การพัฒนาโปรแกรมจัดการ
                แล้วนำข้อมูลมาทำเป็น Board เพื่อให้ง่ายต่อการดูข้อมูล งานบำรุงรักษาเชิงป้องกัน. ที่มา:
                และใช้งานได้สะดวก ทำให้เกิดการ PM ได้ตามรอบที่ http://newtdc.thailis.or.th/docview.aspx?tdcid=45817
                กำหนดได้
             3. ควรมีการติดตามข้อมูลการเกิดเหตุขัดข้องของเครื่องจักร  สุภนิติ แสงธรรม(2562). การบำรุงรักษา . ที่มา:
                หลังจากที่ได้นำ ระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันที่ได้  https://th.wikipedia.org/wiki  (วันที่สืบค้นข้อมูล: 15
                ปรับปรุงใหม่นี้ไปใช้อย่างต่อเนื่องและควรนำข้อมูลมา  พฤษภาคม 2561).

                ปรับปรุงระบบให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  อลงกฎ ชุตินันท์ (2527) ความสำคัญของการวางแผนการ
                มากยิ่งขึ้น                                บำรุงรักษา ที่มา: http://doi.nrct.go.th/ListDoi/Download




                                                                                                              138
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161