Page 184 - Full paper สอฉ.3-62
P. 184

1.  ค าน า                                       26-4102-2002 ซึ่งเป็นรายวิชาที่ใช้การ วิเคราะห์และสรุป
                    การศึกษาในยุคปัจจุบันเป็นยุคที่ข้อมูลข่าวสารมีการ  ประเด็นปัญหาและความต้องการทางด้าน เทคโนโลยีวิเคราะห์

             เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ท าให้เกิดองค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้น  และแก้ไขปัญหาทางด้านเทคโนโลยีได้อย่างมีระบบ รวมถึง
             มากมายด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ การ   การใช้ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการท างานได้อย่างมี

             เข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถท าได้ทุกที่ทุกเวลา ส่งผลให้ผู้เรียน  ประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
             ต้องมีการพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่าง  เทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วยโปรแกรม
             ต่อเนื่อง มีการแสวงหาความรู้ตลอดเวลา เพราะการเรียนรู้จาก  คอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ได้

             ภายในห้องเรียนอย่างเดียวนั้น ไม่สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้  หรือไม่ เพื่อน าข้อมูลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ที่ได้ไปใช้เป็น
             น าความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ในห้องเรียนไปใช้ได้อย่างมี  แนวทางใน
             ประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้สอนจ าเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการ  การปรับปรุงและพัฒนาในการจัดการเรียนการสอนในวิชา

             เรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของผู้เรียน จากอดีตที่  เทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วยโปรแกรม
             ผู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอด และผู้สอน มาเป็นผู้ชี้น าวิธีการค้นคว้าหา  คอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
             ความรู้ให้ผู้เรียน อันจะเป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้  และประสิทธิผล เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน

             แสวงหาความรู้และประยุกต์ใช้ความรู้ด้วยความเข้าใจ (ไพฑูรย์
             สินลารัตน์, 2545; ทิศนา แขมมณี, 2548; บัณฑิต ทิพากร,  2. วัตถุประสงค์การวิจัย

             2550) สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.   1.  ศึกษาพฤติกรรมทางการเรียนของนักศึกษา วิชา
             2542 ได้ให้ค าจ ากัดความของการศึกษาในมาตรา 22 ว่า “การ  เทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วยโปรแกรม
             จัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนที่ความสามารถเรียนรู้  คอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

             และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด
             กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา  (Active Learning)
             ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” กระบวนการเรียนรู้แบบ   2.  เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน วิชา

             Active Learning คือ กระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้  เทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วยโปรแกรม
             ที่ผู้เรียนต้องได้มีโอกาสลงมือกระท ามากกว่าการฟังเพียงอย่าง  คอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
             เดียว โดยมีกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ทักษะและ  (Active Learning)

             เชื่อมโยงองค์ความรู้น าไปปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา โดยมี  3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาในวิชา
             กระบวนการเรียนรู้โดยการอ่าน การเขียน การโต้ตอบ และการ  เทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วยโปรแกรม

             วิเคราะห์ปัญหา อีกทั้งผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่   คอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561
             คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมิน (Bonwell & Eison,   ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning)
             1991) การประยุกต์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active   3. วิธีการด าเนินการวิจัย

             Learning) มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน จะท าให้ผู้เรียนมี  การด าเนินการวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
             ส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน  วิชาเทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วยโปรแกรม
             กับผู้สอน และผู้เรียนกับผู้เรียน จึงถือเป็นการจัดการเรียนการ  คอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

             สอนประเภทหนึ่งที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่สอดคล้อง  (Active Learning) ครั้งนี้ มีหัวข้อน าเสนอ คือ
             กับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันจากประเด็นดังกล่าวข้างต้น    1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
             ท าให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาว่าการเรียนรู้แบบ Active Learning     2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

             มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในวิชาเทคโนโลยีการ            3. การเก็บรวมรวบข้อมูล
             ออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
                                                                      4. การวิเคราะห์ข้อมูล


                                                              2
                                                                                                              166
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189