Page 185 - Full paper สอฉ.3-62
P. 185
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อค าถามนั้นวัดได้ตรงกับเนื้อหา
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษา การประเมิน
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีแม่พิมพ์ ที่ -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นวัดได้ไม่ตรงกับเนื้อหา
ลงทะเบียนในวิชาเทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ การประเมิน
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 ภาคเรียนที่ 2 ป ี
การศึกษา 2561 จ านวน 20 คน ท าการค านวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนรายข้อ จากสูตร
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล IOC = R
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลของการวิจัยครั้ง N
นี้แบ่งเป็น 4 แบบ คือ เมื่อ IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคล้องของข้อ
3.2.1 แบบบันทึกพฤติกรรมทางการเรียน ตรวจสอบ ค าถามกับเนื้อหาการประเมิน
แบบบันทึกพฤติกรรมทางการเรียน โดยเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ R หมายถึง ผลรวมของคะแนนเป็นรายข้อ
เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ และปรับปรุง ในข้อที่ได้รับ N หมายถึง จ านวนผู้ทรงคุณวุฒิ
ค าแนะน าจากผู้เชี่ยวชาญ เกณฑ์การเลือกข้อค าถาม คัดเลือกข้อค าถามที่มีค่า
3.2.2 แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนมีลักษณะ IOC ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป ส่วนที่ต ่ากว่า 0.50 ให้ตัดทิ้งหรือ
เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก น าไปปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งผลการ
3.2.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
เทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วยโปรแกรม ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา พบว่าทุกข้อค าถามมีความ
คอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 เป็นแบบทดสอบที่สร้างขึ้น ตาม สอดคล้องกับเนื้อหาการประเมิน มีค่าความสอดคล้องมากกว่า
จุดประสงค์การเรียนรู้ ครอบคลุมเนื้อหาของรายวิชา เป็น 0.50 ทุกข้อ โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 0.80 - 1.00
แบบทดสอบชนิด 4 ตัวเลือก จ านวน 50 ข้อ
3.2.4 แบบประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ของ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
นักศึกษาในโดยแบบสอบถาม เป็นแบบมาตราประมาณค่า 5 3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินกิจกรรมการเรียนรู้
ระดับ (Rating Scale) แบบมีส่วนร่วม (Active Learning)
3.2 การเก็บข้อมูลเพื่อหาประสิทธิภาพของการเรียนรู้ ได้
การหาคุณภาพเครื่องมือ จาก การเก็บรวบรวมคะแนน ระหว่างการจัดการเรียนการสอน
การหาคุณภาพของ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง แบบมีส่วนร่วม (Active Learning)
เรียนประจ าหน่วยการเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 3.2.1 คะแนนระหว่างเรียน ได้จาก ผลรวมของคะแนน
ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วย จากแบบทดสอบหลังเรียนแต่ละหน่วยการเรียนๆ ละ 20
คะแนน และคะแนนกิจกรรมท้ายหน่วยการเรียน ๆ ละ 20
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 โดยน าเครื่องมือ ให้
คะแนน ซึ่งผู้เรียนท ากิจกรรมท้ายหน่วยการเรียนที่ก าหนด แต่
ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5 ท่าน พิจารณาความตรงเชิงเนื้อหา
ละหน่วยการเรียนมี 3 ถึง 5 กิจกรรม แต่ละกิจกรรมมีคะแนน
(Content Validity) ของเครื่องมือ ได้จากการค านวณหาดัชนี ไม่เท่ากัน แต่เมื่อรวมคะแนนกิจกรรมท้ายหน่วยการเรียนแล้ว
ความสอดคล้องระหว่างค าถามกับเนื้อหา (Index of Item – ผู้วิจัยได้ทดส่วนให้เหลือหน่วยการเรียนละ 10 คะแนน
Objective Congruence : IOC) (พิชิต ฤทธิ์จรูญ 2547 : 241-242) 3.2.2 คะแนนที่ได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
จากความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน พิจารณาให้คะแนนดังนี้ ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 26-4102-2002 ภายหลังการเรียน รวม
+1 เมื่อแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นวัดได้ตรงกับเนื้อหา
50 คะแนน
การประเมิน
3
167