Page 619 - Full paper สอฉ.3-62
P. 619

2545 มีจุดเน้นให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิต  ได้เรียนตาม  วิทยาลัยพาณิชยการเชตุพน ซึ่งการศึกษาจะเป็นประโยชน์โดย
             ความถนัด ความสนใจ และได้รับบริการด้านการศึกษาอย่างมี  มีส่วนร่วมในการช่วยพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้

             คุณภาพ มาตร 30 กล่าวว่า ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการ  ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ [2]
             เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอน  วัตถุประสงค์ของการวิจัย

             สามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่     เพื่อศึกษาความคิดเห็นของสถานประกอบการที่มีต่อการ
             ละระดับสถานศึกษา  ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก  ปฏิบัติงานบัญชีของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา
             ประสบการณ์การจริง ฝึกการปฏิบัติให้ท าได้ คิดเป็น ท าเป็น  การบัญชี  วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน  สถาบันการอาชีวศึกษา
             และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง โดยผสมผสานสาระความรู้ด้าน  กรุงเทพมหานคร

             ต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม  ขอบเขตของการวิจัย
             ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์การส่งเสริม    1.3.1  ขอบเขตด้านเนื้อหา

             พัฒนาการศึกษาจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถประสบความส าเร็จ        การวิจัยครั้งนี้ศึกษาความคิดเห็นของสถาน
             ในการเรียน ตามล าดับความสามารถของตน และพัฒนา     ประกอบการที่มีต่อการปฏิบัติงานบัญชีของนักศึกษาระดับ
             คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ  [1]            ปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน

                    เนื่องจากจัดการอาชีวศึกษาเป็นกลไกส าคัญในการ  สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานครโดยมุ่งเน้นศึกษาความ
             ขับเคลื่อนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับ  คิดเห็นของสถานประกอบการที่มีต่อการปฏิบัติงานบัญชีของ

             แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  แผนการศึกษา    นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยพณิชย
             แห่งชาติประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.  การเชตุพน  สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
             2552 และพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา  พ.ศ. 2551 ต้องการ  ขอบเขตด้านประชากร
             ให้มีการกระจายอ านาจทางวิชาการสู่สถานศึกษาและสถานบัน     ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้จัดการของสถาน

             การอาชีวศึกษาเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัด  ประกอบการ จ านวน  15 คน
             การศึกษา  ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงก าหนด  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

             กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ  เพื่อเปิดโอกาสให้   1. วิทยาลัยพณิชยการเชตุพนทราบความคิดเห็นของ
             สถาบันการอาชีวศึกษาในแต่ละแห่งสามารถพัฒนาหลักสูตร  สถานประกอบการที่มีต่อการปฏิบัติงานบัญชีของนักศึกษา
             ได้เอง  โดยยึดกรอบวุฒิการศึกษาวิชาชีพ  ตามสาขาในการ  ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน

             พัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษา  ในรูปแบบอาศัยแรงขับจาก  สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
             ผู้ใช้  หลักสูตรที่จะพัฒนาจะต้องเป็นหลักสูตรแบบฐาน    2. วิทยาลัยพณิชยการเชตุพนและสถานประกอบการ

             สมรรถนะ“Competency Based Curriculum” ซึ่งน าสมรรถนะ  ทราบแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานของนักศึกษาระดับ
             ของผู้ประกอบอาชีพที่ปฏิบัติงานอาชีพ  มาตรฐานอาชีพหรือ  ปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี
             มาตรฐานสมรรถนะมาเป็นปัจจัยในการพัฒนาหลักสูตรการ  นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย

             อาชีวศึกษา  เพื่อท าให้ผู้ส าเร็จการศึกษามีสมรรถนะวิชาชีพที่    1.  ความคิดเห็น   หมายถึง  ความรู้สึกในใจของบุคคล
             ตรงกับสมรรถนะอาชีพสามารถประกอบอาชีพได้  วิทยาลัย  หนึ่งที่พิจารณาในการตัดสินใจเพื่อการประเมิน หรือแสดง
             พณิชยการเชตุพน(Chetupon Commercial College) สถานศึกษา  ความคิดเห็น

             ในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร จัดการเรียน    2. สถานประกอบการ  หมายถึง  บริษัทที่ลงนามความ
             การสอนในระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสาย       ร่วมมือกับวิทยาลัยพณิชยการเชตุพนในการรับนักศึกษา
             ปฏิบัติการ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาความคิดเห็นของ  ไปปฏิบัติงานบัญชีในระหว่างที่ก าลังศึกษา ระดับปริญญาตรี

             สถานประกอบการที่มีต่อปฏิบัติงานบัญชีของนักศึกษา   สาขาวิชาการบัญชี สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
             ปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สาขาวิชาบัญชี



                                                              2
                                                                                                              601
   614   615   616   617   618   619   620   621   622   623   624