Page 799 - Full paper สอฉ.3-62
P. 799
เ รี ย ก อี ก อ ย่ า ง ว่ า “ลายแทง ส าหรับนักออกแบบ” 5.3 ช่วยให้การออกแบบกราฟิคเป็นธรรมชาติมาก
ก่อนลงมือพัฒนาจริง ยิ่งขึ้น
2 . ส่วนของประกอบ ในการออกแบบ UI ที่ดีต้อง 5.4 ลดข้อผิดพลาดในการตีความ
ประกอบไปด้วย เอกลักษณ์ของแอพลิเคชั่น (Visibility), 5.5 เพิ่มการมองเห็นภาพได้ดียิ่งขึ้น
การพัฒนาระบบ (Development) และ การยอมรับข้อตกลง ข้อควรระวัง การใช้สีเป็นการเพิ่มมิติ และช่วยให้เพิ่ม
(Acceptance) ความน่าเชื่อถือ การผสมกันของบางสีอาจจะดูไม่สบายตาและ
เอกลักษณ์ของแอพลิเคชั่น (Visibility) คือ มีความ อาจท าให้เกิดแง่ลบแก่บางวัฒนธรรม ข้อเสียด้านอื่นๆ ของ
ชัดเจนที่จะบ่งบอกถึงเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแอพลิเคชั่น โดย การใช้สี ได้แก่ ผู้พิการทางสายตาไม่สามารถมองเห็นได้
ค านึงการใช้งาน และมีความคิดรวบยอด (Concept) ที่ชัดเจน 6. ลักษณะการใช้งาน ควรค านึงถึง ผู้ใช้งาน ที่มี
การพัฒนาระบบ (Development) ต้องค านึงถึง การใช้งานแอพลิเคชั่นในระบบปฏิบัติการ ที่แตกต่างกัน ทั้งใน
ความสามารถในการปรับแต่งและข้อจ ากัดของ platform เช่น เรื่องของการป้อนข้อมูล ขนาดหน้าจอ และรูปทรง ผู้ใช้บาง
การรองรับ การสร้างต้นแบบที่รวดเร็ว, มีคลังข้อมูล และมีชุด กลุ่มที่มีการใช้งานในแนวตั้ง บางคนอาจมีการใช้งานแนวนอน
เครื่องมือที่รองรับ เพื่อที่จะสามารถต่อยอดและพัฒนาต่อไปได้ ดังนั้นในการออกแบบควรค านึงถึงการวางต าแหน่งด้วย
การยอมรับข้อตกลง (Acceptance) หมายถึง ยอมรับ 7. ขนาดตัวอักษร การใช้ขนาดตัวอักษร จะต้องเลือกใช้
ในข้อตกลงสิทธิบัตร และนโยบายองค์กร ที่ไม่ขัดกับข้อบังคับ ตัวอักษรที่อ่านง่ายในทุกรูปแบบหน้าจอ การแสดงผลตัวอักษร
ของระบบปฏิบัติการบนมือถือ นั้นค่อนข้างอ่านยากในจอเล็กๆ ทางที่ดีควรเลือกควรเลือกใช้
3. พื้นฐาน หลักการออกแบบแอพพลิเคชั่น การสื่อสาร รูปแบบตัวอักษรที่อ่านง่ายๆ เช่น serif, sans serif เพราะหาก
ความสอดคล้องกันระหว่าง ผู้ใช้และฟังก์ชั่นการใช้งาน เช่น หากระบบปฏิบัติ ไม่รองรับ ตัวอักษร จะเกิดการแทนที่และอาจ
พฤติกรรมการใช้งาน interactive ต่างๆ Economization การลด เกิดการแสดงผลในตัวอักษรที่แปลกไป เป็นเหตุผลที่การใช้
จ านวนขั้นตอนการท างานของ UI ให้น้อยที่สุด แต่ต้อง ตัวอักษร มาตรฐาน จาก Windows จึงเป็นตัวเลือกที่ดี การออกแบบแอ
ครอบคลุมที่สุด Organization หมายถึง UI จะต้องมีโครงสร้าง พลิเคชั่น ที่ใช้ภาษาแตกต่างกัน ต้องค านึงถึง การยืดของ
การใช้งานและ Concept ที่ชัดเจน ตัวอักษรที่อาจใช้พื้นที่เพิ่มมากขึ้นถึง 50 เปอร์เซ็น
4. สิ่งที่จะช่วยเพิ่มความพึงพอใจใน ได้แก่ 8. REMOVE CLUTTER, NOT FEATURES
4.1 Canvas สามารถแสดงถึงสิ่งที่ผู้ใช้ก าลังเรียกใช้ เป็นสิ่งจ าเป็นที่จะผสมผสานหลายๆ feature ไว้
งานอยู่ คือต้องรู้ความต้องการและพฤติกรรมของผู้ใช้ จากนั้น ด้วยกัน แต่อาจท าให้แอพลิเคชั่น มีอาการหน่วง วิธีการ
ออกแบบให้ตอบโจทย์และใช้งานง่ายที่สุด แก้ปัญหาคือ การใช้ Dropdown menu หรือ Tapเป็นสิ่งที่จะช่วย
4.2 Sidebar จะช่วยให้เข้าถึงส่วนพิเศษ หรือเมนูที่ แก้ปัญหาการแสดงผล tools หรือข้อมูลที่มีประโยชน์ภายใน
ซ่อนอยู่ของแอพพลิเคชั่น เวลาเดียวกัน
4.3 Tool bar ช่วยให้ผู้ใช้เลือกหรือเปลี่ยน option หรือ
ปรับเปลี่ยนเมนูการใช้งานแอพพลิเคชั่น การประเมินความพึงพอใจ
5. การเลือกใช้สีที่ดี จะช่วยให้ผู้ใช้เกิดการจดจ าที่ดียิ่งขึ้น เมื่อพัฒนาแอพพลิเคชั่น Dtac Sale Service เสร็จ
มากกว่าการใช้เพียงแค่สีขาว-ด า อีกทั้งรวมถึงการเพิ่มความพึง สมบูรณ์ จากนั้นผู้วิจัยจึงสร้างแบบสอบถามเพื่อประเมินความ
พอใจในและดึงดูดผู้ใช้งานอีกด้วย นอกจากนั้นประโยชน์ของ พึงพอใจจากผู้ใช้ โดยแบ่งการประเมินออกเป็น 5 ด้าน 1) ด้าน
การใช้สียังรวมไปถึง ความพึงพอใจด้านคุณภาพของเนื้อหา 2) ด้านภาพประกอบ
5.1 ช่วยในการมองเห็นภาพและความเข้าใจได้ดี ภาษตัวอักษรและสี 3) ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบ
ยิ่งขึ้น แอพพลิเคชั่น 4) ด้านประโยชน์และการน าไปใช้ 5) ความพึง
5.2 เน้นความส าคัญของข้อมูล พอใจโดยรวมทุกด้าน
4
781