Page 834 - Full paper สอฉ.3-62
P. 834
ร้อยละของ 69.04 80 85 78.01 จากการระดมความคิดจากกระบวนการ PLC มีผลทำให้ได้
นักศึกษาที่ผ่าน 30.69 20.00 15.00 21.89 แผนการจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และสามารถ
ร้อยละของ
เกณฑ์ นำไปใช้กับผู้เรียนได้จริง
นักศึกษาที่ไม่
ตารางที่ 1 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปวช. 1
ด้านผู้เรียน
ผ่านเกณฑ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนแต่ละวงรอบของ
การดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC) เรื่อง
การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ศัพท์เทคนิคคอมพิวเตอร์ การพัฒนากิจกรรมการสอนด้วย PLC พบว่า ในแต่ละวงรอบมี
ในรายวิชา ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น ของนักศึกษาภายใต้ชุมชน จำนวนร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์การประเมินเพิ่มขึ้นใน
การเรียนรู้วิชาชีพ (PLC) กรณีศึกษา นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ทุกวงรอบ
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น มี ด้านครูผู้สอน
วัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาชั้น ปวช.1 สาขาวิชาเทคโนโลยี ครูได้พัฒนาทักษะการสอน ปรับปรุงการจัดการเรียน
สารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น ที่เรียนรายวิชา การสอนให้ดียิ่งขึ้น โดยได้รับความรู้ และคำแนะนำจาก Buddy
ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น รหัสวิชา 2901-1001 ประจำภาค Teacher ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ มีความรู้ ความชำนาญการ
เรียนที่ 1/2561 มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้านการการพัฒนา สอนคอยเป็นครูพี่เลี้ยง แนะนำเทคนิคการสอนต่าง ๆได้พัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ศัพท์เทคนิคคอมพิวเตอร์ รายวิชา สื่อการเรียนการสอนด้วยกระบวนการ PLC ได้พัฒนาสื่อการ
ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการ เรียนการสอนด้วย Google Classroom
เรียนรู้ทางวิชาชีพ และเพื่อนำเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่
เกิดจากชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูจากการปฏิบัติจริงในชั้น เอกสารอ้างอิง
เรียน มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้น ปวช.1 กลุ่ม 1,2 [1] จิราภรณ์ เอมเอี่ยม. (2552). การพัฒนารปแบบการสร้าง
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น ทีมงานครู ในสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ กศ.ด.
จำนวน 40 คน ครูแผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น ที่เข้าร่วมการเรียนรู้ด้วยชุมชนการ
เรียนรู้ จำนวน 7 คน ใช้กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ [2] ชอบ เข็มกลัด และ โกวิทย์ พวงงาม. (2547). การวิจัยเชิง
MIAP ใช้สื่อนวัตกรรมการสอน Google Classroom ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเชิงประยุกต์. กรุงเทพ ฯ : เสมาธรรม.
เนื้อหาการสอนจำนวน 1 เรื่องคือ ทำงานของคอมพิวเตอร์และ [3] ณรงค์ฤทธิ์อินทนาม. (2553). การพัฒนาหลักเทียบสําหรับ
อุปกรณ์ต่อพ่วง มีประเด็นปัญหา 3 ประเด็น การสร้างชุมชนการเรียนร้ทางวิชาชีพในโรงเรียน. วิทยานิพนธ์
ดุษฎีบันฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผล กรุงเทพฯ :
จากการสังเกตและประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
พบว่า ในวงรอบที่ 1 ผู้เข้ารับการประเมิน 40 คน ผ่านเกณฑ์การ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[4] ประวิต เอราวรรณ์. (2548). การพัฒนารูปแบบการเสริม
ประเมิน 29 คน นักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 69.04
วงรอบที่ 2 มีนักศึกษาเข้าเรียน 40 คน ผู้เข้ารับการประเมิน พลังอํานาจครูในโรงเรียน : กรณีศึกษา โรงเรียนสาธิต
32 คน นักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์คิดเป็น ร้อยละ 80.00 ใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิจัย
วงรอบที่ 3 มีนักศึกษาเข้าเรียน 40 คน ผู้เข้ารับการประเมิน 34 และพัฒนาหลักสูตร กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
คน นักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 85.00 [5] พันธ์ทิพย์ รามสูตร. (2540). การวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วน
เมื่อเปรียบเทียบร้อยละของนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ ร่วม. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาการ สาธารณสุขอาเซียน
เรียนของผู้เรียนของแต่ละวงรอบของการพัฒนากิจกรรมการสอน กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล.
ด้วย PLC พบว่าในแต่ละวงรอบมีร้อยละของนักศึกษาที่ผ่าน
เกณฑ์การประเมินเพิ่มขึ้นในทุกวงรอบ จากผลการดำเนินงาน [6] ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ และคณะ. (2547). รายงานวิจัยโครงการ
PLC ใน 3 วงรอบ พบว่า ศึกษาความสัมพันธ์กําลังคนใน อุตสาหกรรมกับการผลิต
บุคลากรในสถานการศึกษา. มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา
การเรียนรู้ในรูปแบบการระดมความคิดจากกระบวนการ ประเทศไทย (TDRI).
PLC มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในเชิงพฤติกรรมการเรียนรู้
ของนักเรียน ช่วยลดปัญหาทักษะการเรียนรู้ศัพท์เทคนิค [7] วิเชียร ไชยบัง. (2554). วุฒิภาวะของความเป็นครู : โรงเรียน
คอมพิวเตอร์ โดยมีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนทั้ง ลําปลายมาศพัฒนา มหาสารคาม: อภิชาติ การพิมพ์. [8]
สามวงรอบอยู่ที่ร้อยละ 85 วิจารณ์ พานิช (2554). การเรียนร้ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21.
กรุงเทพฯ : มูลนิธิสยามกัมมาจล.
3
816