Page 40 - Merged-๒๐๑๘๑๑๐๙-๑๕๕๘๑๒
P. 40

ท าการสักการะบูชาพระพุทธองค์  น าพระพุทธองค์ไปสู่ที่ประทับในการน าเสด็จพระพุทธองค์ไปสู่ที่ประทับ
                  นั้น  ได้จัดท าบุษบกส าหรับพระพุทธเจ้าประทับ แล้วน าขบวนแห่กันไปกลายเป็นประเพณีลากพระมาจน
                  บัดนี้

                         ในการที่ประชาชนพลเมืองไปท าการต้อนรับพระพุทธองค์นั้นต่างก็เตรียมภัตตาหารไปถวาย
                  ด้วย  และเนื่องจากมีประชาชนแห่แหนกันไปมาก  จึงเป็นเหตุให้ผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลายไม่อาจน าภัตตาหาร
                  ที่เตรียมไปนั้นถวายถึงพระพุทธองค์อย่างทั่วถึง  ดังนั้นประชาชนที่อยู่ห่างออกไป  จึงน าอาหารของตนห่อ
                  ด้วยใบไม้แล้วส่งต่อกันไปถวาย  ส่วนคนที่อยู่ห่างไกลออกไป   มาก ๆ  ก็ปาอาหารที่ห่อด้วยใบไม้แล้วไป

                  ถวาย  การน าอาหารมาห่อด้วยใบไม้เลยกลายเป็นการห่อข้าวต้มด้วยใบกะพ้อที่เรียกว่า  “ต้ม”  และอาการ
                  ที่ปาอาหารเข้าไปก็กลายเป็น  “การซัดต้ม”  สืบต่อมาด้วย

                                                                            ประเพณีแห่เจ้าพ่อเล่าเอี่ยก๋ง หรือ
                                                                    ประเพณีพระอีก๋ง ราววันแรม ๒ ค่ าและ ๓
                                                                    ค่ า เดือน ๓ บริเวณศาลเจ้าบางตะโละ ฝ๎่งตรง

                                                                    ข้ามต าบลตะลุบัน และบริเวณศาลเจ้าแม่แห่ง
                                                                    ใหม่ ในเขตเทศบาลต าบลตะลุบัน อ าเภอสาย
                                                                    บุรี โดยพลัดกันจัดงานสมโภชปีเว้นปี เจ้าพ่อ

                                                                    เล่าเอี่ยก๋งนี้เป็นที่นับถือของชาวไทยพุทธใน
                                                                    อ าเภอสายบุรีและใกล้เคียง โดยมีเรื่องเล่าว่า
                                                                    เมื่อประมาณ ๑๕๐ ปีมาแล้ว มีชาวประมงที่
                  นับถือศาสนาอิสลามได้ลากอวนติดเอาท่อนไม้ที่มีรอยเกาะสลักเป็นรูปพระจีนขึ้นมาด้วย จึงจับโยนขึ้นไปบน

                  หาดทราย นายคงซึ่งนับถือศาสนาพุทธจึงยกขึ้นมาดูท าให้เกิดปาฏิหารย์ คือ นายคงซึ่งเป็นคุตทะราดที่ฝุา
                  เท้าได้กอดรูปพระไว้แน่นและพาวิ่งย่ าไปบนกอหญ้าลูกลมอันแหลมคม และได้วางรูปพระนั้นลงบริเวณที่ตั้ง
                  ศาลเจ้าบางตะโละในป๎จจุบัน ส่วนคุตทะราดที่ฝุาเท้าก็หายเป็นปลิดทิ้ง เหตุอัศจรรย์นี้เลื่องลือไปทั่ว

                  ชาวบ้านจึงแห่แหนกันไปดูและกราบไหว้บูชา
                         ประเพณีแห่ลาซัง ประเพณีนี้ชาวไทยที่นับถือ

                  ศาสนาอิสลามเรียกว่า "ปูยอบือแน" เป็นพิธีฉลองนาข้าว
                  หรือซังข้าว ซึ่งท ากันทุกหมู่บ้าน ทั้งไทยพุทธและไทย
                  อิสลาม ประเพณีนี้จะจัดให้มีขึ้นภายหลังการเก็บเกี่ยว

                  ข้าวราวเดือน 5  หรือเดือน 6  มีการท าหุ่นฟางรูปชาย-
                  หญิงจับคู่กัน แล้วจัดขบวนแห่ไปวางไว้บนศาลเพียงตา
                  พร้อมทั้งเครื่องสังเวย เช่น ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าว
                  เหนียวห่อต้ม ไข่ต้ม   หลังจากนั้นผู้อาวุโสในหมู่บ้าน
                  ท่านหนึ่งจะกล่าวค าบวงสรวงแต่งงานให้แก่หุ่นซังข้าว

                  แล้วน าหุ่นดังกล่าวไปเก็บไว้ในนาใกล้ๆ ศาลเพียงตา จุดประสงค์ของการท าพิธีนี้ก็เพื่อขอบคุณเจ้าแม่โพสพ

                  หรือพระเจ้าที่บันดาลให้พืชผลอุดมสมบูรณ์
                         ประเพณีลงเลหรือลงทะเล ประเพณีลงเลเป็นประเพณีถือปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่โบราณ โดยใน
                  งานประเพณีจะมีการท าบุญอุทิศส่วนกุศลให้เทวดาและโอปาติกะหรือวิญญาณทั้งหลาย ซึ่งมีท้าวเวสสุวรรณ
                  เป็นประธาน และจะมีการท าแพบนเพจะท าเป็นบ้านเพื่อลอยสู่ทะเล โดยมีความเชื่อว่าจะน าความทุกข์หรือ


                  สรุปผลการด าเนินงานของส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดปัตตานี ประจ าปี ๒๕๖๑                 35
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45