Page 17 - วิธีการสอนเเละเทคนิคการสอนภาษาไทย
P. 17
ส ารวจพื้นฐานความรู้เดิมของผู้เรียนและแก้ไขทักษะที่ยังบกพร่อง การเรียนการสอนที่ดีนั้นครูควรจะ
ส ารวจความพร้อม และความสามารถเบื้องต้นของนักเรียน ทั้งด้านความสามารถทางกายและความสามารถ
เฉพาะอย่าง เซ่น จะสอนเรื่องการผันอักษร ครูก็ควรจะส ารวจก่อนว่า นักเรียนมีความรู้เรื่องวรรณยุกต์ ไต
รยางค์ ค าเป็นค าตายเพียงใด
ปัจจุบันใช้วิธีให้ท าแบบทดสอบส ารวจก่อน ถ้าผลปรากฏว่าพื้นความรู้เดิมยังไม่พร้อมครูก็ต้อง
ทบทวนหรือสาธิตจนกว่าจะใช้ได้คล่องแคล่วอีกครั้ง ก่อนเริ่มสอน นอกจากนี้ ต้องส ารวจ เรื่องทักษะการพูด
การอ่าน การฟัง การเขียน ด้วยว่า แต่ละทักษะนักเรียนยังมีข้อบกพร่อง อะไรอีก ครูจะได้เตรียมสิ่งเราเพื่อช่วย
ซ่อมเสริมทักษะนั้น ๆ
อธิบายหรือสาธิตการสอนทักษะ วิชาภาษาไทยนิยมใช้วิธีสาธิตหรือแสดง ตัวอย่างให้ดูก่อนการให้หลักเกณฑ์
เช่น ครูระสอนเรื่องการสนทนา ครูจะหาตัวอย่างการ สนทนา บันทึกเสียงมาเปิดให้นักเรียนพัง ให้นักเรียนสั่งเกต
วิธีการสนทนา ภาษาที่ใช้ตลอด ชนเรื่องที่ควรสนทนา นักเรียนสรุปกฎเกณฑ์ของการสนทนาสุดท้ายครูก็สรุปและ
อธิบายเพิ่มเติม ทักษะการเขียนก็เช่นกัน ถ้าจะสอนเรื่องการเขียนจดหมายส่วนตัว ครูก็ต้องหาตัวอย่าง จกหมาย
ซอง มาให้นักเรียนดูและพังแล้วให้นักเรียนสรุปรูปแบบของการเขียนจดหมาย การ ใช้ส านวนโวหาร การเขียน ซอง
ฯลฯ ครูสรุปกฎเกณฑ์อีกครั้ง ขั้นการอธิบาย และสาธิตทักษะส าคัญมากต่อการเรียนรู้ ถ้าไม่มีตัวอย่างหรือขาดการ
สาธิต มีแต่กฎเกณฑ์เท่านั้น นักเรียนจะไม่เข้าใจแจ่มแจ้ง การฝึกหัดในขั้นถัดไปอาจจะ ล้มเหลว หรือปฏิบัติไม่
ถูกต้อง การสาธิตหรือตัวอย่าง ประกอบบทเรียนจึงมีความส าคัญยิ่ง ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน เวลา
สถานที่ และโอกาส