Page 25 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 25

18



                                (5)  มิกซีดีมา (myxedema) เกิดขึ้นในผูใหญ เนื่องจากตอมไทรอยดหลั่งฮอรโมนออกมา

                  นอยกวาปกติ ผูปวยจะมีอาการสําคัญ คือการเจริญทั้งทางรางกายและจิตใจชาลง มีอาการชัก ผิวแหง หยาบ
                  เหลือง หัวใจ ไตทํางานชาลง เกิดอาการเฉื่อยชา ซึม ความจําเสื่อม ไขมันมาก รางกายออนแอ ติดเชื่องาย โรค

                  นี้พบในเพศหญิงมากกวาเพศชาย

                             2)  ฮอรโมนแคลซิโทนิน (calcitonin) เปนฮอรโมนอีกชนิดจากตอมไทรอยด ทําหนาที่ลดระดับ
                  แคลเซียมในเลือดที่สูงเกินปกติใหเขาสูระดับปกติโดยดึงแคลเซียมสวนเกินไปไวที่กระดูก ดังนั้นระดับ

                  แคลเซียมในเลือดจึงเปนสิ่งควบคุมการหลั่งฮอรโมนนี้และฮอรโมนนี้จะทํางานรวมกับฮอรโมนจากตอม

                  พาราไธรอยดและวิตามินดี
                         2.3 ตอมพาราไธรอยด (parathyroid gland)

                             ตอมพาราไธรอยดเปนตอมไรทอที่มีน้ําหนักนอยมาก ติดอยูกับเนื้อของตอมไธรอยดทาง

                  ดานหลัง ในคนมีขางละ 2 ตอม มีลักษณะรูปรางเปนรูปไขขนาดเล็กมีสีน้ําตาลแดง หรือน้ําตาลปนเหลือง มี

                  น้ําหนักรวมทั้ง 4 ตอม ประมาณ 0.03 – 0.05 กรัม

                             ฮอรโมนที่สําคัญที่สรางจากตอมนี้ คือพาราธอรโมน (parathormone) ฮอรโมนนี้ทําหนาที่รักษา
                  สมดุลของแคลเซียม และฟอสฟอรัสในรางกายใหคงที่ โดยทํางานรวมกับแคลซิโตนิน เนื่องจากระดับ

                  แคลเซียมในเลือดมีความสําคัญมาก เพราะจําเปนตอการทํางานของกลามเนื้อประสาทและการเตนของหัวใจ

                  ดังนั้น ตอมพาราธอรโมนจึงจัดเปนตอมไรทอที่มีความจําเปนตอชีวิต
                         2.4 ตอมหมวกไต (adrenal gland)

                             ตอมหมวกไต อยูเหนือไตทั้ง 2 ขาง ลักษณะตอมทางขวาเปนรูปสามเหลี่ยม สวนทางซายเปนรูป

                  พระจันทรครึ่งเสี้ยว ตอมนี้ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 2 ชนิด คือ อะดรีนัลคอรเทกซ (adrenal cortex) เปนเนื้อเยื่อ
                  ชั้นนอกเจริญมาจากเนื้อเยื่อชั้นมีโซเดิรม (Mesoderm) และอะดีนัลเมดุลลา (adrenal medulla) เนื้อเยื่อชั้นใน

                  เจริญมาจากสวนเนื้อเยื่อชั้นนิวรัลเอกโตเดิรม (neural ectoerm) ดังนั้นการทํางานของตอมหมวกไตชั้นเมดุล

                  ลาจึงเกี่ยวของกับระบบประสาทซิมพาเธติก ซึ่งผลิตฮอรโมนชนิดตางๆ ดังนี้

                             1)  อะดรีนัล คอรเทกซ ฮอรโมนจากอะดรีนัล คอรเทกซ ปจจุบันนี้พบวาอะดรีนัล คอรเทกซ
                  เปนตอมไรทอที่สามารถสรางฮอรโมนไดมากที่สุดกวา 50 ชนิด ฮอรโมนที่ผลิตขึ้นแบงออกเปน 3 กลุม ตาม

                  หนาที่ คือ

                                (1)  ฮอรโมนกลูโคคอรติคอนด (glucocorticoid) ทําหนาที่ควบคุมเบตาบอลิซึมของคาร
                  โอไฮเดรตเปนสําคัญ นอกจากนี้ยังควบคุมเมตาบอลิซึมของโปรตีน และไขมัน รวมทั้งสมดุลเกลือแรดวยแต

                  เปนหนาที่รอง การมีฮอรโมนกลูโคคอรติคอนดนี้มากเกินไป ทําใหเกิดโรคคูชชิ่ง (Cushind’s syndrome)

                  โรคนี้จะทําใหหนากลมคลายพระจันทร (moon face) บริเวณตนคอมีหนอกยื่นอกมา (buffalo hump) อาการ

                  เชนนี้อาจพบไดในผูปวยที่ไดรับการรักษาดวยยาที่มีคอรตโคสเตรอยดเปนสวนผสม เพื่อปองกันอาการแพ
                  หรืออักเสบติดตอกันเปนระยะเวลานาน
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30