Page 28 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 28

21



                                     ตอมไรทอตางๆ ที่สําคัญพรอมชื่อฮอรโมนที่ใหออกมาและหนาที่

                               ตอมไรทอ                                     หนาที่

                  ตอมใตสมอง
                  ไธโรโทรฟน (Thyrotrophin)            ควบคุมการทํางานของตอมไทรอยด

                  คอรดิโคโทรฟน (Corticotrophin)      ควบคุมปริมาณสารจากตอมหมวกไต

                  โกนาโดโทรฟน (Gonadotrophin)         ควบคุมสารตอมอวัยวะเพศ

                  โกรวฮอรโมน (Growth hormone)        ควบคุมการเจริญเติบโตของรางกาย
                  วาโซเปรซซิน (Vasopressin)            ควบคุมปริมาณน้ําที่ขับออกจากไต

                  โปรแลกติน (Prolactin)                กระตุนการสรางน้ํานม

                  ออกซิโตซิน (Oxytocin)                กระตุนการหดตัวของกลามเนื้อมดลูกขณะเด็กเกิด
                  ตอมไทรอยด หลั่งฮอรโมน

                  ไธรอกซิน (Thyroxin)                  ควบคุมอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนความรอนและพลังงานใน

                                                       การควบคุมการเจริญเติบโตตามปกติ และการทํางานของ
                                                       ระบบ

                  ตอมพาราไธรอยด หลั่งฮอรโมน

                  พาราธอรโมน (Parathormone)           กระตุนใหกระดูกปลอยแคลเซียมออกมาและควบคุมระดับ

                                                       ของแคลเซียมในเลือด

                  ตอมหมวกไต ประกอบดวยสวน
                  คอรเทกซ (cortex) และเมดุลลา        ผลิตจากสวนเมดุลลา ฮอรโมนนี้จะเพิ่มกําลังใหกับระบบ

                  (medulla) หลั่งฮอรโมน               ประสาท

                                                       ซิมพาเธติก ในการรับความรูสึกกลัว โกรธ และตื่นเตน
                  อะดรีนาลิน และนอรอะดรีนาลิน         สารสเตอรอย (steroid) ผลิตจากคอรเทกซ ชวยในการปองกัน

                  (Adrenalin and Noradrenalin)         การตกใจ

                  คอรติโซน (Cortisone)                จากสวนคอรเทกซ ชวยควบคุมสมดุลเกลือแรตางๆ และน้ําใน
                                                       รางกาย

                  อัลโดสเตอโรน (Aldosterone)

                  ตับออน

                  อินซูลิน (Insulin)                   ควบคุมการใชน้ําตาลของรางกาย

                  รังไข (ตอมอวัยวะสืบพันธุเพศหญิง)
                  เอสโตรเจน (estrogen)                 ควบคุมลักษณะเพศหญิงตอนวัยรุน หยุดการเจริญของกระดูก

                                                       และกระตุนมดลูกรับการตกไข
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33