Page 24 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 24

17















                         ฮอรโมนที่ผลิตจากตอมใตสมองมีหนาที่ควบคุมการเจริญเติบโตของรางกาย การทํางานของตอม

                  ไทรอยด ตอมหมวกไต การทํางานของไต และระบบสืบพันธุ
                         2.2 ตอมไทรอยด (thyroid)

                             ตอมไทรอยดมีลักษณะเปนพู 2 พู อยูสองขางของคอหอย โดยมีเยื่อบางๆ เชื่อมติดตอถึงกันได

                  ตอมนี้ถือไดวาเปนตอมไรทอที่ใหญที่สุดในรางกาย มีเสนเลือดมาหลอเลี้ยงมากที่สุดมีน้ําหนักของตอม

                  ประมาณ 15 – 20 กรัม ตอมไทรอยดมีเสนเลือดมาเลี้ยงมากมาย ตอมไทรอยดผลิตฮอรโมนที่สําคัญ ไดแก
                             1)  ฮอรโมนไธรอกซิน (thyroxin hormone) ทําหนาที่ควบคุมการเผาผลาญสารอาหารกระตุน

                  การเปลี่ยนไกลโคเจนไปเปนกลูโคสและเพิ่มการนํากลูโคสเขาสูเซลลบุทางเดินอาหาร จึงเปนตัวพิ่มระดับ

                  น้ําตาลกลูโคสในเลือด
                                ความผิดปกติเกี่ยวกับระดับฮอรโมนไธรอกซิน

                                (1)  คอหอยพอกธรรมดา (simple goiter) เปนลักษณะที่เกิดขึ้นโดยตอมขยายใหญเนื่องจาก

                  ตอมใตสมองสวนหนาสราง ไทรอยดสติมูเลติง ฮอรโมน (thyroid-stimulating hormone เรียกยอ ๆ วา TSH
                  ทําหนาที่กระตุนตอมไทรอยดใหหลั่งออรโมนเปนปกติ) มากระตุนตอมไทรอยดมากเกินไป โดยที่ตอมนี้ไม

                  สามารถสรางไธรอกซินออกไปยับยั้งการหลั่ง TSH จากตอมใตสมองได

                                (2)  คอหอยพอกเปนพิษ (toxic goiter) เกิดขึ้นเนื่องจากตอมไทรอยดสรางฮอรโมนมาก
                  เกินไป เพราะเกิดภาวะเนื้องอกของตอม

                                (3)  คอหอยพอกและตาโปน (exophthalmic  goiter) เกิดขึ้นเนื่องจากตอมไทรอยดสราง

                  ฮอรโมนมากผิดปกติ เพราะไดรับการกระตุนจาก TSH  ไทรอยดสติมูเลติง ฮอรโมน (thyroid-stimulating

                  hormone  เรียกยอ ๆ วา TSH) มากเกินไปหรือภาวะเนื้องอกของตอมก็ได คนปวยจะมีอัตราการเผาผลาญ
                  สารอาหารในรางกายสูง รางกายออนเพลีย น้ําหนักลดทั้งๆ ที่กินจุ หายใจแรงและเร็ว ตอบสนองตอสิ่งเราไว

                  อาจเกิดอาการตาโปน (exophthalmos)  จากการเพิ่มปริมาณของน้ําและเนื้อเยื่อที่อยูหลังลูกตา โรคนี้พบใน

                  หญิงมากกวาในชาย
                                (4)  คริตินิซึม (cretinnism) เปนความผิดปกติของรางกายที่เกิดจากตอมไทรอยดฝอในวัย

                  เด็ก หรือพิการตั้งแตกําเนิด ทําใหการเจริญเติบโตของกระดูกลดลง รางกายเตี้ย แคระแกร็น การเจริญเติบโต

                  ทางจิตใจชาลงมีภาวะปญญาออน พุงยื่น ผิวหยาบแหง ผมบาง
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29